EP.08 จากตำรา Google สู่การบริหาร Startup ไทย
อยากนำ Culture การทำงานของ Google มาใช้กับบริบทแบบไทยๆ ต้องทำยังไง? มาฟังจากประสบการณ์จริงของคุณอ้อ พรทิพย์ กองชุน Co-Founder จาก Jitta อดีตผู้บริหารที่ทำงานกับ Google กว่า 10 ปี เรียนรู้เรื่องปรัชญาการทำงานแบบ Google จากคนมีประสบการณ์จริง ผู้นำแบบ Google อย่าง Eric Schmidt หรือ Sundar Pichai มี Leadership Style อย่างไรที่เราควรเรียนรู้ และประสบการณ์จริงของการนำตำราแบบ Google มาปรับใช้กับองค์กรไทยแบบฮาร์ดคอร์จน Culture Shock! พร้อมแนวทางในการบิดการทำงานแบบ Google ให้เข้ากับบริบทแบบไทยๆ
Guestคุณอ้อ-พรทิพย์ กองชุน
Co-Founder & COO, Jitta
Transcript
พี่อ้อได้อยู่ Google ต้องบอกว่านานมาก สิบปี เป็นสิบปี ใช่ แล้วได้บทเรียนอะไรของการเป็นผู้นําในแบบ Google มาบ้างครับ เคยกินข้าวกับ Eric Schmidt ตอนมาเมืองไทย แล้วก็เล่าว่า YouTube Thailand เจอปัญหาอะไรที่ยัง launch ไม่ได้ แล้วเขาก็ยกมือถือขึ้นมาส่งอีเมล ผู้บริหาร Google ทุกคน ถ้าเขาคุยแล้วชัดเจนว่าเขาต้อง support อะไรเรา action เลยนะ
จากพี่อ้อ Google สู่พี่อ้อ Jitta เอาหลักคิดหลายหลายอย่างของGoogle มาปรับใช้ที่ Jitta อะไร work อะไรไม่ work ยังไงบ้างครับ ตอนแรกไม่ได้ปรับเลยค่ะ เอามาทั้งยวง สมัยก่อนพี่อ้อจะโหดมาก ก็คือห้ามถามอายุเลย ไม่มีพี่น้องนะคะ เพราะไม่อยากให้มีความรู้สึกว่า เกรงใจคนที่เป็นพี่ ฮาร์ดคอร์มาก ปรากฏว่า culture shock เพราะฉะนั้นใครที่จะไปอ่านหนังสือ How Google Works และก๊อปมาทั้งดุ้น ระวังนิดนึงก่อน อ่ะ เดี๋ยวเรามาฟังพี่อ้อต่อ
กลับมาพบกันอีกครั้งนะครับ กับรายการ Chief’s Table นะครับ วันนี้เราจะมาพูดคุยกับอดีตผู้บริหารคนแรกของ Google Thailand พี่อ้อ พรทิพย์ กองชุน นะครับ อดีตหัวหน้าฝ่ายการตลาดของ Google Thailand นะครับ ผู้อยู่เบื้องหลังการนําหลายหลาย product นะครับ ไม่ว่าจะเป็น Google Search Google Maps หรือว่า YouTube นะครับ มาให้พวกเราคนไทยได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย พี่อ้อมีประสบการณ์ทํางานอยู่ใน Google กว่าสิบปีนะครับ ได้นําความรู้แล้วก็ประสบการณ์ทํางานต่างๆ นะครับ ในแบบ Google มาร่วมปลุกปั้น Jitta เป็น Startup ด้าน WealthTech ซึ่งเป็น platform วิเคราะห์หุ้น เพื่อการลงทุนตามหลักการลงทุนแบบเน้นคุณค่า โดยสิ่งที่พี่อ้อคาดหวังคือพี่อ้ออยากทําให้ Jitta สามารถสร้าง impact ได้เหมือนที่ Google ทํา
วันนี้นะครับ เราจะมาร่วมถอดประสบการณ์ของพี่อ้อ จากการร่วมงานกับ Google นะครับ และการเอา culture ทํางานต่างๆ มาปรับ มาประยุกต์ใช้ ที่บริษัท Jitta ของตัวเองนะครับ ก็ต้องบอกว่าตอนนี้พวกเราคนไทย เราตื่นเต้นกับการนําวิธีทํางานของหลายๆ บริษัทต่างชาติไม่ว่าจะเป็น Google, Netflix, Amazon มาปรับใช้นะครับ การเอามาใช้มันมีข้อดีข้อเสียยังไง มีข้อควรระมัดระวังยังไง แล้วที่ Jitta ทําอะไรแล้ว work ทําอะไรแล้วไม่ work เดี๋ยววันนี้เรามาพูดคุยกับพี่อ้อกันครับ
พี่อ้อสวัสดีครับ สวัสดีค่ะ
ก็ก่อนอื่นนะครับ อยากให้พี่อ้อแนะนําตัว ก่อนจะมาทํา Google พี่อ้อไปทําอะไรมา เส้นทางชีวิตพี่อ้อเป็นยังไงบ้างครับ
โอเคค่ะ ก็ถ้าสมัยก่อนแนะนําตัวจะบอกว่าพี่อ้อ Google นามสกุล Google ทุกคนก็จะ คุณอ้อไหน อ๋อคุณอ้อ Google รู้จัก อยู่ Google ค่อนข้างนาน แต่จริงๆ แล้วพี่อ้อก็จะอยู่บริษัทเทคโนโลยีก่อนหน้านั้น ก็จะเป็น Microsoft แล้วหลังจากนั้นก็ไปเริ่มงานที่ Google ตอนที่ Google เริ่ม promote ในเมืองไทย ตอนนั้นมีตําแหน่งเดียว เขาเรียกว่า Country Consultant Google แบบไม่รู้ว่าคนจะใช้ product ยังไง หรือเราจะต้องทําอะไร อยากให้คนมาให้คําแนะนําเกี่ยวกับตลาด เกี่ยวกับผู้ใช้งานในประเทศนั้นๆ ใช่ แล้วก็ดูว่าเราจะพัฒนาอะไรเพิ่มเติมให้กับคนไทยบ้าง เพราะเราไม่รู้จักประเทศไทยเลย คือภายในเขาเรียกว่า scout ก็คือเราเดินออกไป แล้วเราไปดูซิว่าตลาดเป็นยังไง แล้วเราก็มาทํางานร่วมกับทีมงานของ Google อันนั้นก็จะเป็นตําแหน่งแรก หลังจากนั้นก็จะเปลี่ยนหลายตําแหน่งเลย ได้เรียนรู้อะไรเยอะแยะมากมายที่ Google ค่ะ ทำ Business Development ทํา New Business Development ด้วย คือมากกว่า new หมายถึงแบบ initiative ใหม่มากๆ ของ asia pacific south east asia ทำฝั่ง sales สุดท้ายก็กลับมาทํา marketing ก็คือการทําพัฒนา product ร่วมกับทีม product แล้วก็โปรโมทในประเทศไทย ก่อนออกจาก Google ก็ project ที่รู้สึกว่าทําแล้ว นี่่คือชีวิตทั้งชีวิตที่ทุ่มเทให้กับ Google แล้วทํา project นี้ออกมาค่ะ ก็คือ YouTube Thailand อ่า YouTube Thailand แล้วก็เป็นความภูมิใจถึงตอนนี้ เพราะ YouTube Thailand ก็เรียกว่าเป็น platform ที่สร้างประโยชน์มากๆ กับคนที่ทํา content หรือแม้กระทั่ง business หรือคนธรรมดา youtuber ต่างๆ ตอนเนี้ยค่ะคือ ecosystem เรียกว่าแข็งแกร่งมาก ก็เป็นความประทับใจ ความภูมิใจที่เราได้ทํา
พี่อ้อได้อยู่ Google ต้องบอกว่านานมากสิบปี เป็นสิบปีใช่ แล้วเวลาใครพูดถึงพี่อ้อ เขาก็จะอยากถามอยากรู้เกี่ยวกับ culture วิธีการทํางานต่างๆ ของ Google ช่วงแรกๆ เลยพี่อ้อเข้าไปที่ Google มันมีวัฒนธรรมอะไรที่เรารู้สึกประหลาดใจมากเป็นพิเศษเลยมั้ย
ค่ะ วันแรกก็ประหลาดใจเลย วันแรกประหลาดใจ วันแรกไปถึงปุ๊บ อ่ะ จะทําอะไรบ้างนะ เอา OKRs มา คือไม่มีใครมาบรีฟฉันหรอ ไม่มีใครมาบอกฉันหรอ ว่าฉันต้องทําอะไร เขาจะถามว่าเราจะทําอะไร หน้าที่เราต้องมาบอก Google ว่าเราจะทําอะไร เลยบอกขอเวลาฉันหน่อย งั้นเดี๋ยวฉันไป research ว่ามันจะต้องทําอะไร มีการวาง strategy ซึ่งตรงเนี้ยคือเป็นแบบที่ช็อกมาก เพราะว่าอยู่ Microsoft มาก่อน ถูกไหม ที่เล่าให้ฟัง อยู่ Microsoft Microsoft มันองค์กรใหญ่ละ ตอนนั้นนะ ถ้าเทียบกับ Google ที่ยังเด็กมาก เพราะฉะนั้น Microsoft วิธีการทํางานของเขาอ่ะ มันจะมีเฟรมเวิร์คค่อนข้างชัด แต่พอมาเจอ Google Google ถามว่า อ่ะ จะทําอะไรบ้าง คือทุกอย่างเป็นเรื่องใหม่ แล้วเขาต้องการคนที่ initiative จริงๆ คือหลังจากที่คุยกับ Manager เราก็เข้าไปศึกษา เข้าไปดูว่าตอนนี้ Google โฟกัส product อะไร อ่ะ เราก็มานั่งทําแผน
Google เขาชอบพูดคํานี้ set from zero หรือ built from zero ตอนพี่อ้อมาอยู่ marketing นี่คือ built from scratch อีกพักนึงคืออะไรรู้มั้ยคะ zero budget คือเป็นการแข่งที่พี่อ้อรู้สึกแบบ โอ้โห นี่คือแบบ ใครคิดไอเดียนี้มา หมายความว่า project ที่สําเร็จอ่ะค่ะ แคมเปญที่สําเร็จ แล้วใช้ budget น้อยมากๆ ROI สูงๆ เนี่ยเจ๋ง เค้าก็เลยบอกว่าเนี่ยถ้าคุณจะ คุณจะทํา project ให้แบบมีนัยยะสําคัญกับ Google คือแน่นอนคนใช้งาน ในขณะเดียวกันคุณใช้ budget น้อยมาก คุณทํายังไงก็ได้ให้ ROI มันสูง โอ้โห แข่งกันค่ะ หลายครั้งข้อจํากัดพวกนี้ มันก็ทําให้เราต้อง ใช่ มันจะคั้นเราว่า ถ้าเกิดมี resource แค่นี้ มีคนแค่นี้ แต่เป้าแบบนี้ คุณจะทํายังไง เพราะฉะนั้นเนี่ย สิ่งที่เราคิดอ่ะ ที่มันเป็น practice ที่ผ่านมา มันใช้ไม่ได้ล่ะ เราไม่สามารถทําแบบนั้นได้ละ คือสมองเราก็จะคิดแบบว่า อันนี้ทําไม่ได้ละ ถ้างั้นเรา ทํายังไงให้มันมากขึ้น ทําไงให้มันเป็นแบบสิบเท่า เขาก็เลยชอบอะไรที่มันมี constrain
คือมีข้อจํากัดเยอะๆ ให้เราคิดเอง drive ตัวเอง แล้วก็ต้อง built from zero ด้วย แล้วก็กันดารคือสินทรัพย์ ทํายังไงให้ push เราออกนอกกรอบ ผมว่ามันก็เป็นวิธีคิดแบบ Startup เนอะ จริงๆ ความเป็น Startup มันคือตอนเราเริ่มต้น เราไม่ได้มีเงินเยอะ เราไม่ได้อยาก burn เงินเยอะ เราก็ต้องหาท่ากองโจรต่างๆ ของเรา ทํายังไงก็ได้ให้เราเติบโตได้อย่างรวดเร็ว อ่ะ
ทีนี้อาจจะถอยกลับภาพกว้างๆ ครับ พี่อ้ออยู่ Google สิบปีเนาะ ผมว่าได้เห็นการเปลี่ยนผ่าน ได้เห็นคนหลาย generation ได้เห็นอะไรหลายๆอ ย่างเลยนะครับ core values ของบริษัท มีอะไรที่พี่อ้อชอบเป็นพิเศษ และคิดว่ามันเป็นบทเรียนที่ดีที่พวกเราควรจะรู้กันบ้างครับ
จริงๆ เยอะเลย Google เรียกว่า Google philosophy มันก็จะมีประมาณสิบเรื่องที่ Google บอกว่าฉันเชื่อมั่นในสิ่งนี้ แล้วเวลาที่เราทํางาน เวลาที่เราคิดจะพัฒนา product อะไร คิดว่าเราจะทําอะไรให้กับ user philosophy นี้ ก็จะเป็นตัวที่เป็นครอบตัวนําทาง ว่าเราต้องพัฒนาในแบบนี้นะ
ข้อแรกเนี่ย คําสั้นๆ จํากัดความของมัน ก็คือเขาบอกว่า don’t be evil แต่ Google ก็ไม่ได้ใช้คํานี้แล้ว Google บอกว่าเวลาที่เราจะทําเงินน่ะค่ะ เราทําสิ่งที่ถูกต้องได้ ยกตัวอย่างเช่น ที่ Google พูดถึงเรื่องนี้ก็คือ ตอนที่ Google มีหน้า search อะค่ะ หน้า search ของ Google เนี่ย มันขาวโพลน แล้วมันก็มีช่อง search ถูกมั้ยคะ แล้ว traffic มันเข้ามาเยอะ เพราะฉะนั้นหน้านั้นน่ะ สิ่งที่ทําได้อีกอันนึงอะค่ะ ที่จะสร้างเงิน ก็คือขาย banner ขายอันใหญ่หน้าแรกได้เลย ขายแพงก็น่าจะมีคนซื้อ ใช่ แต่ Google บอกไม่ เพราะหลักการของ Google คืออะไร คือหลักการต้องการให้คนมาค้นหา แล้วได้ผลลัพธ์ที่ต้องการอย่างรวดเร็ว นั่นคือ core ของมัน ไม่ใช่เข้ามาเพื่อมาดู banner ซึ่งถ้าเราจะทําเงิน เราทําได้แน่ๆ แต่ user มีประสบการณ์ที่ไม่ดี งั้นเราเลือกสร้างรายได้แบบอื่นดีกว่าไหม Google ก็เลยไปมองเรื่องของตัว ที่เวลาเรา search ด้วย keyword แล้วก็จะมีโฆษณาขึ้น แทนที่จะไปหาเงินแบบ banner ซึ่งมันก็จะเป็นก็จะเป็นโฆษณาที่ขึ้นมาเนอะ แต่มันก็จะเกี่ยวข้องกับคําที่เราหา เพราะฉะนั้นในมุมหนึ่งมันก็ ก็อาจจะตอบโจทย์ลูกค้าก็ได้ เขากําลังมองหาอันนี้อยู่ แล้วเราก็ได้โฆษณาไปด้วยแล้วก็ ใช่ ลูกค้าก็ได้ประโยชน์เขาเรียกว่ามันมีความเกี่ยวข้องกันถูกปะ Google อาจจะได้เงินน้อยลงก็ได้ค่ะ ถ้าเทียบกับการที่ไปขาย banner แต่ในระยะยาวแล้ว ด้วย user ด้วยคนที่ใช้งานก็ยังอยู่กับเราไปเรื่อยๆ เพราะว่าประสบการณ์ที่เค้าใช้มันยังดีอยู่ เพราะฉะนั้นเค้าก็อยู่กับเรายาวๆ Google ก็สามารถที่จะมีรายได้จากการทําโฆษณายาวๆ ได้เช่นกัน
ลองไปข้ออื่นๆ ครับเรามี philosophy ข้อไหนที่พี่อ้อชอบ แล้วได้เอามาประยุกต์ใช้ใน ในการทํางานที่ Google อีกบ้างครับ
ที่ใช้กับชีวิตอีกอันนึงก็คือ user first โฟกัสก่อน Google บอกว่าโฟกัส user ก่อน แล้วสิ่งอื่นๆ จะตามมา เวลาคุณถกเถียงกันว่าฟีเจอร์เนี้ยเราจะทําแบบไหน เราจะทํายังไงตัวที่จะเป็นกรอบให้คุณก็คือ แล้ว user จะได้อะไร Google มองเทคโนโลยีของตัวเองเป็นลักษณะเหมือน global technology คนทั้งโลกใช้ เขาอยาก scale ทําหนึ่งอันกดปุ่มให้ทั้งโลกใช้ อ่าใช่ แต่พอเอาเข้าจริงๆ แล้วอะคะ พอลงลึกในรายละเอียดอ่ะ มันไม่สามารถเป็น one size fits all ทุกคนได้ เช่น Google Search ค่ะ Google Search เนี่ย เป็นอะไรที่ทุกคนบอกว่ามันคือ universal แต่เอาเข้าจริงๆ ตอนที่ Google Search เกิดขึ้นที่เมืองไทยอะคะ Google Search แย่มากนะคะ แย่ถึงขั้นที่เรียกว่าห่วยเลยอ่ะ เคยเล่นมุกนี้ไหม มุกที่ search Google อ่ะ “อยากได้คนที่รักเราจริง” แล้วผลคืออะไรรู้ไหม “ไม่พบผลการค้นหา” แล้วเขาก็จะแคปเจอร์แล้วเขาก็มาแซวกันว่า เนี่ย ขนาดจะหาคนที่รักเราจริงอ่ะ Google ยังหาให้ไม่เจอเลย คือจริงๆ เกิดขึ้นเพราะอะไรรู้ไหมคะ เพราะ Google ไม่รู้ว่าคํายาวๆ ที่คุณกําลังหาอ่ะ มันหมายความว่ายังไง เพราะว่า Google ไม่ได้ตัดคําสําหรับคนที่อาจจะไม่คุ้นเคยกับเทคโนโลยี คือต้องบอกว่า search สมัยก่อน เรา search หาคําว่าอะไร Google ก็จะไปหาเว็บที่มันมีคํานั้น เป๊ะๆ อยู่ในนั้นเลย แต่พอเป็นภาษาอังกฤษ ทุกคํามันก็จะมีเว้นวรรคชัดเจน แต่เป็นภาษาไทยปึ๊บ “ตามหาคนที่รักเราจริง” เขาก็มองหาอันนี้เลย คือเขาก็จะหาเว็บที่ต้องมีคําเนี้ยยาวๆ ต่อกันเป๊ะๆ ไม่เจอ ก็เลยกลายเป็นไม่มีผล ผลการค้นหาไม่พบนะคะ ถามว่าตอนนั้นน่ะมีคนเริ่มใช้ Google Search อ่ะค่ะ เจ้าอื่นๆ ก็มีนะ เจ้าอื่นก็มี Microsoft ก็มี search สมัยนั้น แต่คนมาใช้ Google นะคะ ไม่ได้หมายความว่า Google ดีนะ แค่ดีกว่า เพราะฉะนั้น สิ่งที่พี่อ้อต้องทําก็คือต้อง feedback คือส่งเรื่องขึ้นไปว่า เฮ้ย คุณต้องมาดูแลเรื่องพวกนี้แล้ว เพราะว่าถ้าเกิดว่าการที่คุณเห็นตัวเลขว่า Google มีคนใช้เยอะ ใช้ Google Search เยอะที่หนึ่งของประเทศไทยอ่ะไม่ได้หมายความว่าเราดีที่สุด แค่เราดีกว่าคู่แข่งเรา แต่ถ้าเราอยากดีที่สุด แล้ว Google Search อ่ะ มันจะเป็นตัวที่ขยายไปสู่ product อื่นๆ เช่น Google Adwords, AdSense หรือ search ตัวอื่นๆ เพราะฉะนั้นคุณต้องแก้ไขตรงนี้ก่อน เพราะฉะนั้น พอส่งเรื่องขึ้นไป Google ก็ส่ง engineer เข้ามาช่วยดู แล้วเราก็มีส่วนในการพัฒนาตรงนี้ด้วย ซึ่งตรงเนี้ยพอย้อนกลับมาคําถาม เอ้ย user first นี่เลย
user first user first เนาะ เราดีกว่าคู่แข่งไม่ได้แปลว่าเราดีพอสําหรับ user นะครับ อ่ะ มีข้อไหนอีกมั้ยครับ
ที่พี่อ้อชอบ great just isn’t good enough เยี่ยมยอดแล้ว ทําดีแล้วมันก็ยังดีไม่พอ ดีไม่พอ ต้องดีกว่าเดิม มันก็คือเรื่องของการเรียนรู้ และพัฒนา Google จะเปลี่ยนแปลงตลอด คือบางทีพี่อ้อรู้สึกว่ากระบวนการนี้มันก็โอเคอยู่แล้วอ่ะ ไม่ มันจะต้องดีกว่านี้อีก แล้วคุณอยากจะดีขึ้นยังไง ไม่รู้ แต่เรารู้ว่ามันจะดีกว่านี้ได้ แล้วเค้าก็เชื่อว่าทุกงานน่ะค่ะ สามารถทําให้ดีกว่าเดิม แม้ว่างานของคนนั้นจะเป็นงานที่อาจจะต้องเป็นรูทีนอ่ะ เป็นแบบ business user คือทํายังไงมันก็ตีลังกามากไม่ได้กว่านี้ละ แบบ 1 2 3 4 5 อย่างเงี้ย แต่จริงๆ เขาบอกว่างานทุกงานมันทําได้ มัน optimize ได้ มันทําให้ดีกว่าเดิมได้ ยกตัวอย่างเช่นคุณทํางานที่เกี่ยวกับเรื่องของกระบวนการ คุณอาจจะบอกว่า เนี่ย คุณตอบลูกค้าภายในหกชั่วโมงได้ ลูกค้า happy ลูกค้าพอใจ คุณทําเร็วกว่านี้ได้ไหม หรือรองรับลูกค้าจํานวนมากกว่าที่เป็นได้ไหม เขาคิดว่าทุกอย่างมันไม่พอ เวลาเปลี่ยน บริบทมันเปลี่ยนแปลง สิ่งที่เราทําอยู่มันก็ต้องปรับเปลี่ยนแล้วก็ดีกว่าเดิมดีกว่าเดิม ที่พี่อ้อบอก user อย่างเงี้ยค่ะ เราบอกว่าเราทํา Google Search ละเราไปปรับปรุงละ user บอกว่า happy สมมติบริบทเปลี่ยนแปลงไป ตอนนี้ user อาจจะอยาก search แล้วเห็นอะไรที่มันเรียลไทม์กว่าเดิม หรือ AI ช่วยได้ว่า เฮ้ย ยังไม่ต้อง search เลย ยังรู้เลยว่าเราอยากได้คําตอบเรื่องอะไร มันไม่มีอะไรนิ่งเลย มันมีการเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราต้องทําไปคู่กับการเปลี่ยนแปลงก็คือ ทําให้ดีกว่าเดิม ทําให้ดีกว่าเดิม
great แล้วก็ยังดีไม่พอ เพราะฉะนั้น ก็ต้องกลับมาเรื่องนี้เลยครับ Google เป็นหนึ่งในองค์กรที่คนรู้จักกันดีในฐานะที่ push พนักงานเก่งมาก เราตั้งเป้าแบบ moon shot จะไปดวงจันทร์กันตลอดเวลาเนอะ อ่า หลายคนจะได้ยินคําว่า 10X จะเติบโตห้าเปอร์เซ็นต์ สิบเปอร์เซ็นต์ไม่เอา ขอสิบเท่า อยากให้พี่อ้อเล่าหน่อยว่า วิธีคิดแนวคิดมันมันเป็นยังไง พี่อ้อเอามาใช้กับ project ยังไงบ้าง แล้วในมุมพนักงาน คนทํางาน ตกลงมันฮึกเหิมจาก 10X หรือว่าจะ ห่อเหี่ยวจาก 10X อยากจะจะให้พี่อ้อเล่าเรื่องนี้ให้ฟังยาวๆ เลยครับ
ใช้เยอะมาก ใช้ทุกวันเลยค่ะ มันคือเรื่องของ motivation คือทำให้เรารู้สึกว่า เรากําลังทําเป้าที่มันใหญ่ ให้คนรู้สึกว่าเอ้ย สิ่งที่เรากําลังทํา มันยิ่งใหญ่นะ มัน big impact แล้วมันเป้าที่ใหญ่ โอเคมันอาจจะยาก มันยากเลยล่ะ แต่ถ้าเราทําได้ เราจะภูมิใจในตัวเรามากๆ แล้วสุดท้ายคือสิ่งที่เรากําลังทําอยู่อ่ะค่ะ เรากําลังทําให้ใครได้ประโยชน์ ไม่ได้มาแบบ อ๋อ โอเค เดี๋ยว quarter นี้ เราขอสิบเปอร์เซ็นต์ก็พอ ซึ่งอันเนี้ยเรา เราจะพูดกันอยู่ตลอดเวลา แม้ว่ามันอาจจะมีอุปสรรค เราต้องหาวิธีที่เราจะไปให้ได้ในเป้าหมายที่เราตั้งไว้ มันจะมีการ motivate แล้วทําให้คนรู้สึกว่า โอเค ฉันต้องทําให้ได้ ในมุมที่พี่อ้อเล่าเนาะ คือการตั้งเป้าแบบ moon shot จะไปดวงจันทร์ หรือ 10X เนี่ย ตั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดการรู้สึกว่าเรากําลังเป็นส่วนหนึ่งของอะไรที่มันยิ่งใหญ่มากๆ
ผมว่าคําถามที่ผู้ฟังทุกคนถามในตอนนี้ครับ มันไม่ห่อเหี่ยวมั่งหรอ เช่น หัวหน้าตั้งมา 10X ไม่มีทางได้เลยอ่ะ เป็นไปได้ไหม อ่ะ
คือมันต้องสร้างกันมาเรื่อยๆ หล่อหลอมกันมาเรื่อยๆ องค์กร Startup อย่าง Jitta มันไม่ยาก เพราะว่าเริ่มจากศูนย์ มาถึงปุ๊บ เราจะ 10X ทุกคนก็จะเข้าใจ culture ก็จะได้ ทุกคนก็จะไป 10X ถูกไหมค่ะ เพราะฉะนั้นสภาพแวดล้อมทุกคนอยากจะ 10X ทุกคนอยากจะสําเร็จ อันเนี้ยมันจะไม่ยากอยู่แล้ว แต่องค์กรค่ะ เราเคยโตสิบเปอร์เซ็นต์ ยี่สิบเปอร์เซ็นต์มา อยู่ดีๆ พี่คนนี้มา moon shot เราขอสิบเท่า นึกออกไหม เคยทําได้ห้าร้อยล้าน ตอนนี้มาขอห้าพันล้าน เดี๋ยวน่ะ คือทุกคนก็จะแบบ เอ๊ะ ไปยังไง คือมันมีการเปลี่ยนแปลงในนั้นอะคะ แล้วก็ mindset มันจะเริ่มเปลี่ยน ถูกไหมค่ะ ซึ่งจริงๆ แล้วมันไม่ได้ตั้งแต่ตอนแรก เพราะคุณไม่ได้อยู่ในสภาพแวดล้อมแบบนั้น มันต้องค่อยๆ หล่อหลอมกันไป อาจจะไม่ moon shot อ่ะ อาจจะ หลังคาบ้านก่อนแล้วกัน ตอนนี้เราทําแค่นี้ใช่ไหม อ่ะ เราขออยู่หลังคาบ้าน เราขอออกไปนอกโลกก่อนอย่างเงี้ยค่ะ ก็ค่อยๆ ไป แต่ทีเนี้ย สิ่งที่ตอนไปอ่ะ แน่นอนเมื่อกี้ที่ถาม เห้ย ถ้ามันต้อง motivate กันตลอดเวลา หรือเป้ายากอย่างเงี้ย มันก็จะมีช่วงหนึ่งไหมที่รู้สึกเหนื่อยจังเลย ท้อจังเลย หรือแม้กระทั่งถ้าเราทําไม่ได้ ถ้ามันล้มเหลวคนก็จะรู้สึกว่า ก็มันทําไม่ได้ แล้วจะตั้งอีกทําไม เพราะเดี๋ยวก็ทำไม่ได้อีก เริ่มต้นค่ะ คุณไม่ต้อง 10X ตั้งแต่แรกหรอก ค่อยๆ ทําให้เขาเห็นว่า อย่างน้อยการที่เขาตั้งอะไรที่มัน challenge มันท้าทายศักยภาพอ่ะ มันจะทําให้เขาถูกกระตุ้นคิด คิดออกมาได้มากขึ้นอ่ะ ยกตัวอย่างวิธีคิด คือทําให้เขาเห็นภาพว่า ตัวเขาเองทําได้มากกว่าที่คิดก่อน คือต้าเคยให้พนักงานทํา แล้วต้าให้คะแนนไว้ที่ห้า พนักงานทุกคนของต้าทําได้ห้า เราเปลี่ยนแนว บอกว่าพี่รู้ว่าทุกคนเก่งมาก แต่พี่ไม่เอาล่ะ พี่ไม่อยากได้ห้าละ พี่อยากให้ทุกคนคิดในมุมที่ว่า เราน่าจะทําได้เกินห้า ขอสิบได้ไหม ขอเท่าตัวก่อน ยังไม่ต้อง 10X ขนาดที่ว่า เฮ้ย จากห้าไปเป็นห้าสิบอย่างเงี้ยค่ะ ถ้าเราไม่ทําเหมือนที่เราเคยได้เต็มห้า เราทําอีกแบบหนึ่ง หรือเราทํามากขึ้นดูสิว่าเราจะไปถึงสิบได้รึเปล่า ซึ่งถ้าเรา motivate เราพยายามให้เป้ามันยาก โดยส่วนใหญ่แล้วคนน่ะ ก็จะเริ่มไม่ได้ทําแบบเดิม เพราะฉะนั้นเขาจะทําอะไรที่มันอาจจะไม่เหมือนเดิม หรือมากกว่าเดิม ซึ่งสุดท้ายแล้ว ถ้าเขาทําไม่ได้ถึงสิบอะคะ เช่น เขาทําได้แปด คือแบบปรบมือเลย มันก็เกินห้ามาตั้งเยอะแล้ว ใช่ แล้วเราก็กลับไปถามเขาบอกว่า น้องไม่ได้เต็มนะ แต่น้องได้แปด ระหว่างห้ากับแปด น้องภูมิใจตัวไหนมากกว่ากัน ซึ่งคนส่วนใหญ่ถ้าถอยกลับมาค่ะ ยังไงก็ต้องภูมิใจในสิ่งที่เรารู้สึกว่า เราปลดศักยภาพของตัวเองแล้วทําได้แปด มันทําได้เกินที่คิดด้วยซ้ำเอาไว้ตลอดทั้งชีวิตคิดว่าได้ห้า งั้นลอง project ที่ยากกว่านี้อีกลองอะไรที่มันมากกว่านี้อีกได้มั้ยเพราะฉะนั้นการที่เราให้ mindset อย่างเงี้ย คนก็จะคิดคิดแทนที่จะกังวลว่า เฮ้ย มันเหนื่อยจังเลย แต่เขารู้สึกมันให้รางวัลกับชีวิตเขา เขาเกิด achivement มันก็จะค่อยๆ ขึ้นไปผมว่ามีหลายประเด็นเลยที่น่าสนใจเนอะ Google เขาอยากไปดวงจันทร์เขาตั้ง 10X จริงเนาะ แบบนี้เหมาะกับ Startup เพราะพวกเราเพิ่งเริ่มอ่ะตัวเลขน้อยๆ คูณสิบเนี่ย มันก็ยังไม่เยอะมากแต่บริษัทที่ใหญ่แล้วจะมาคูณสิบ อยู่ดีๆ เราจะจับทุกคนคูณสิบมันยากเกินไป พนักงานก็อาจจะยังไม่ได้มีmindset ของการที่จะต้องถูกกระตุ้น ถูก motivate ด้วยวิธีนี้พี่อ้อก็แนะนําว่าปีนหลังคาบ้านก่อนปีนหลังคาบ้านได้ค่อยขึ้นฟ้าขึ้นฟ้าเสร็จค่อยออกอวกาศ แล้วเดี๋ยว ค่อยไปดวงจันทร์เนาะ เอา smal step ให้เขามี small winเรื่อยๆ แล้วสิ่งที่พี่อ้อพูดแล้วผมชอบมากๆเลยคือ วิธีคุยคือเราต้องช่วยเค้าทําให้เห็นภาพเนาะ ว่าเรากําลังจะทําให้เค้าทําได้มากกว่าที่เค้าคิด เรากําลังปลดปล่อยศักยภาพในตัวเค้าแล้วทันทีที่เราเห็นภาพตรงนี้ชัดพี่อ้อก็บอกว่าสุดท้ายแล้วคนมันจะเปลี่ยนวิธีคิด เพราะถ้ามันทําแบบเดิมมันไม่มีทางได้ 10Xมันต้องเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ แล้วพอคนเริ่มเปลี่ยนวิธีคิด เริ่มได้เห็นตัวเอง ออกจากคอมฟอร์ทโซนแล้วก็ เฮ้ยฉันทําได้นี่หว่า หัวหน้าเชื่อว่าฉันทําได้ แล้วฉันก็ทําได้โดยที่จริงๆ ฉันไม่เคยคิดว่าฉันทําได้ แล้วเขาก็จะเริ่มฮึกเหิมแล้วเขาก็จะเริ่มหาความท้าทายใหม่ๆ เรียกว่เริ่มเสพติดความท้าทาย อาจจะเริ่มอยากจะ 10X กับเรา
เดี๋ยวก่อนที่เราจะเริ่มมาคุยเรื่อง Jitta เนาะตลอดสิบที่ Google ครับ พี่อ้อมีโอกาสทํางานกับผู้บริหารระดับสูงของ Google หลายๆ ท่านเลย Sundar Pichai, Eric Schmidt ได้เรียนรู้อะไรจากคนพวกนี้บ้างไหมครับ เขามีลักษณะอะไรที่มันโดดเด่นที่ ที่พวกเราควรเอาเยี่ยงอย่างบ้างครับ
คือเขาเป็น Leader ที่ไม่ได้สั่งอะไรเลย เขาจะฟังเราก่อน เพื่อที่เขาจะไปคิดว่า นี่คือสิ่งที่ Google วางแผนไว้ มันไปในแนวทางเดียวกันได้ไหม หรือเราจะทําไงให้ Google Thailand ที่คุณกําลังจะทํา หรือว่าสิ่งที่เป็นภาพใหญ่ของ Google มันสามารถที่จะไปใน direction เดียวกันได้ งั้นเขาจะฟังเราก่อนเสมอ อันเนี้ยจะ open มากๆ แล้วก็พยายามให้เราคิด คือในหัวเค้าอ่ะ พี่อ้อเชื่อว่าเค้า เค้าคิดเสร็จแล้ว ถูกต้อง Sundar Pichai อย่างเงี้ย Google Chrome เค้ารู้แล้วล่ะ เค้าคุยกับ Sergey Brin คุยกับ Larry Page เสร็จแล้ว แต่แทนที่เค้าจะบอกว่า นี่คือ 1 2 3 4 5 คุณไปทํานะ คุณมีหน้าที่ทํา ไม่ เค้าไม่เคยพูดอย่างนี้กันเลย
ผู้นําที่ดีในแบบของ Google ก็คือต้องเป็น coach เนอะ แล้วเขาก็จะชอบ 1 on 1 หมายความว่าเขาจะชอบมาถาม ชอบมา follow up เขาอาจจะไม่ได้ monitor ใกล้ชิด เพราะ Google ก็จะบอกอยู่แล้วว่าไม่ micro manage เพราะ micro manage มันมีกรอบเยอะ แล้วพนักงานจะคิดอะไรที่มัน initiative หรือว่าคิดอะไรที่มัน นอกเหนือจากที่มันเป็นยาก เพราะฉะนั้นมันไม่เกิด creative เพราะฉะนั้นเขาก็จะมา 1 on 1 แล้วเขาก็จะ แค่ถามว่ามันไปตามที่เราวางแผนกันไว้ไหม ถ้าเป็นไปดีเยี่ยม ทําอะไรได้ดีขึ้นได้ไหม จะให้เขา support อะไร ผู้บริหาร Google ทุกคนจะค่อนข้าง open แล้วก็รับฟัง feedback ใช่ไหม แต่ถ้าเขาคุยแล้ว ชัดเจนว่าเขาต้อง support อะไรเรา แล้วเขารู้ว่าเขาสามารถ support ได้เลย หรือ action ได้เลย เขาทําเลยนะคะ เพราะพี่อ้อเคยกินข้าวกับ Eric Schmidt ตอนมาเมืองไทย แล้วก็เล่าว่า YouTube Thailand เจอปัญหาอะไรที่ยัง launch ไม่ได้ แล้วเขาก็บอก โอเค เดี๋ยวเขาคุยกับฝ่ายกฎหมาย ยกมือถือขึ้นมาส่งอีเมล แล้วก็บอกว่า โอเค ทางนู้นก็ส่งมาแล้วว่าเดี๋ยวจะดูให้ พอเรามาเป็นคนทํางาน เราก็จะรู้สึกว่า โห นี่คือ leader หรือคนที่นําทางเรา ที่เราต้องการจริงๆ leader ในแบบของ Google เนาะ พี่อ้อบอกว่าเป็น good coach เป็น coach ที่ดี มา 1 on 1 กับเราบ่อยๆ เริ่มตั้งแต่เจอกัน ถามเราว่าอยากทําอะไร คิดอะไรอยู่ open mind มากๆ ถึงแม้เราจะคิดจบในหัวเราแล้ว ก็ไม่ต้องไปบอกเค้าเนาะ ก็ถามเค้าว่าว่าอยากทําอะไร เปิดโอกาสให้ แล้วก็พยายามหา alignment เนาะ เรารู้อยู่แล้วเราอยากพาบริษัทไปทางไหน น้องคิดมาแบบเนี้ยเราจะช่วยปรับยังไงให้มันไปในทิศทางเดียวกัน แล้วพอเราตกลงเข้าใจอะไรร่วมกันแล้วเนาะ ก็ยังต้อง coach ต้อง 1 on 1 เพื่อติดตามผล และอันนี้พี่อ้อพูดแล้วผมชอบที่สุดเลยคือ ติดตามแล้ว เราก็ต้องช่วย support ต้อง take action ด้วย ลูกน้องติดอะไรยกมือถือขึ้นมาเคลียร์ ให้มันจบตรงนั้นเลย เขาถึงจะได้วิ่งแทนเราได้
อย่างที่ต้าสรุปไปเมื่อกี้ แต่โดยรวม Google ทําได้ดีมากๆ ก็คือเรื่องของ direction leadership กับ direction เราจะไปแบบไหน เรามี mission ยังไง เป้าของเราคืออะไร OKRs ปีนี้ของเราคืออะไร ทําได้ดีมาก พี่คิดในใจเค้าไม่เบื่อเหรอที่เค้าพูด เขาจะพูดตลอดเวลา อ่ะ Google มี mission อะไร ทุกครั้งที่มีประชุมบริษัทคนเยอะๆ คือพูดจนแบบว่า โหเนี่ย กรีดเลือดมาคือมันชัดมาก ในฐานะที่เราเป็น leader เราอยู่หัวเรือ เรากําลังชี้ว่าเราไปทิศทางไหน คือเราชี้อยู่ได้อ่ะ ชี้ให้มันชัดอ่ะ ไม่ใช่วันนี้เราชี้ทิศใต้ อีกวันชี้ทิศเหนือ แต่เราชี้เลยว่านี่คือ direction ที่เราจะไป สมมติว่ามันมีเรื่องอะไรเข้ามา เรื่องของตลาด เรื่องปัจจัยอะไรที่เราควบคุมไม่ได้เข้ามา สุดท้ายเราก็บอกว่าเอ้ย สิ่งเหล่านั้นน่ะ มันมากระทบยังไง แต่เรายังไปอยู่นะ ไม่ใช่แบบพอมีอะไรเปลี่ยนแปลงแล้วเราเป็น leader ที่ เอ้ย เราก็ไม่รู้เหมือนกัน เดี๋ยวเอียงซ้ายไปก่อนแล้วกัน เอียงขวาไปก่อนแล้วกัน สุดท้ายคนก็ในก็จะไม่รู้ว่า direction จริงๆ เป็นยังไง ซึ่งจริงๆ ตรงเนี้ย Google ไม่ว่าจะเป็น Eric Schmidt เป็น Larry Page หรือ Sundar Pichai คือทุกคนทําตรงนี้ชัดเจน
โอเค พวกเราได้ story สนุกๆ แล้วก็บทเรียน leadership ที่น่าสนใจมากๆ จากพี่อ้อนะครับ
ตอนนี้พาพี่อ้อเปลี่ยนนามสกุลแล้วครับ จากพี่อ้อ Google เนาะ สู่พี่อ้อ Jitta ลาออกจาก Google มาเริ่มต้นก่อตั้ง Startup Jitta ซึ่งบทบาทอันนึงที่พี่อ้อมาทําก็ ในฐานะผู้บริหาร ก็ต้องพยายามปั้นทีม สร้าง culture การทํางาน ซึ่งแน่นอนที่สุด พี่อ้อเกริ่นมาตลอดทางแล้วว่าเอาหลักคิดหลายๆ อย่าง วิธีคิดหลายๆ อย่างของ Google มาปรับใช้ที่ Jitta นะครับ อยากให้พี่อ้อลองเล่าหน่อยครับ เอาอะไรมาใช้บ้างอะไรเวิร์ค อะไรไม่เวิร์คยังไงบ้างครับ
ตอนแรกไม่ได้ปรับเลยค่ะ เอามาทั้งยวงเลย ไม่ไม่ปรับเลย มันดีค่ะ ถ้ามันดีอยู่แล้ว มันพิสูจน์แล้ว นี่บริษัทยักษ์ใหญ่ของโลกเลยนะคะ ทุกคนอยากทํางานที่ Google เลย เพราะว่า culture ของ Google คิดมาก เอามาทําเลยค่ะ ก็เอามาทั้งหมดทั้งยวงเลย ปรากฏว่า culture shock มันไม่ได้ fits all ขนาดนั้น เขาช็อกกับเรื่องอะไรที่สุดครับ culture คนไทยเรา ถ้อยทีถ้อยอาศัย ถ้าจะว่าอะไรเราก็ sandwich นิดนึง ชมก่อน ตบหัวลูกหลัง ไม่ต้องใช้คําแรงขนาดนั้นก็ได้ ถ้ามันรุนแรงจริงๆ ไปคุยนอกรอบได้ไหม เพราะว่าในที่ประชุมมีคนเป็นสิบเลย พูดตรงต่อหน้านี่คือแบบหน้าช้ามากเลยนะ อะไรอย่างเงี้ย
หรือการที่เราบอกไม่เห็นด้วย ทุกคนก็ไม่กล้าแย้งกลับมา ไม่กล้าเถียง ก็พี่อ้อไม่เห็นด้วย เราจะพูดทําไม แต่จริงๆ พี่อ้อคาดหวัง การไม่เห็นด้วยเพื่อที่ เราเสนอแนวคิดของเราไป เราคาดหวังอะไร เราคาดหวังว่าคนอื่นก็จะพูดในสิ่งที่เป็นแนวคิดของเขาเข้ามา เพราะฉะนั้นเนี้ย สิ่งที่เจอก็คือส่งไป ทุกคนก็ตัดก่อนเลย เพราะว่าไม่มีประโยชน์ที่จะพูด นี่คือ Co Founder เขาพูดแบบนี้ ก็ไปแบบนี้สิ ทั้งๆ ที่ไม่เห็นด้วย ซึ่งวิถีแบบคือวิถีที่ที่เราเป็นคนไทยที่ถ้อยทีถ้อยอาศัย อยู่ร่วมกันแบบครอบครัว ปรับเยอะเหมือนกันตรงนี้
พี่อ้อปรับตรงไหนยังไงบ้างครับ แล้วทุกวันนี้อะไรของ Google ที่ยังเหลือร่องรอยอยู่ใน Jitta บ้างครับ
อันดับแรกปรับจากพี่อ้อก่อน แกะดํา คนที่เป็นแกะดําคือคุณ คือ mindset หรือวิธีการของเราอะคะ เรามาแยกแยะก่อนว่าสิ่งนี้คือ core แล้วยังอยากให้อยู่ เช่นเรื่องของ open feedback เรื่องของความโปร่งใส ในระยะยาวแล้วพี่อ้อยังมองว่าดี มองว่าดีมากๆ กับองค์กร เพราะฉะนั้นอันนี้ยังคงเก็บไว้ และพยายามกระตุ้นให้ทุกคนมี feedback ซึ่งกันและกัน ตามหลักการ ตามข้อเท็จจริง ตามที่ควรจะเป็น เพราะฉะนั้น คุณกล้าพูด กล้าเสนอแนะ ในสิ่งที่คุณคิด แต่ถ้าเป็นบางเรื่องที่พี่อ้อรู้สึกว่า เอ้ย มันเกี่ยวกับเรื่องของ culture แล้วทํายังไงมันอาจจะไม่ตรงกับที่ Google เป็นก็ได้ อย่างเงี้ยค่ะ พี่อ้ออาจจะต้องปรับอ่ะ ยกตัวอย่างเช่น อีกเรื่องหนึ่งที่คนไทยเป็น แล้ว Google ไม่เป็นเลย ก็คือเรื่องของ visibility ความชัดเจน เห็นว่าใครทําอะไรยังไง คือถ้าผิดมีปัญหา ยกมือ เรื่องนี้มีปัญหาครับ เราต้องมาช่วยกันคิดเรื่องนี้ หรือกล้าที่จะพูดออกมาว่าเขาทํา หรือเขาไม่ทําอะไร หรือเกิดปัญหาอะไร เพราะอีกแผนกหนึ่งทําตรงนี้ ก็เลยมากระทบกับเขา ตรงนี้ไม่มีเลย เพราะฉะนั้น ดึงมันขึ้นมา แต่ในโทนคนไทย วิธีการพูดอาจจะพูดในเชิง คือเวลาเราทํางานด้วยกัน เราจะชอบเรียกกันพี่ๆ น้องๆ สมัยก่อนพี่อ้อจะโหดมากก็คือห้ามถามอายุเลย แล้วไม่ให้เรียกพี่เรียกน้องเลย เพราะไม่อยากให้มีความรู้สึกว่าเราต้องเกรงใจคนที่เป็นพี่ หรือคนเป็นน้องเนี่ย เพราะวัยวุฒิไม่ถึง แต่จริงๆ คนเป็นน้องอาจจะมีไอเดียที่ดีกว่า คือฮาร์ดคอร์มาก เพราะฉะนั้นมันก็จะกลับมาเจอกันตรงที่ว่า ยังเรียกพี่เรียกน้องได้ แต่ในมุมมองของการทํางานน่ะค่ะไม่มีพี่น้องนะคะ ตัว core หลักของเรามันก็ยังเหมือนเดิม เราตัดสินคนที่งาน แล้วเราก็โปร่งใส เรามีอะไรเราก็ feedback เราก็คุย เราก็เสนอความเห็นได้เต็มที่ ถูกต้อง ถ้าพี่คนนี้ทําไม่ถูกต้อง หรือพี่คนนี้ทําแล้วผิดพลาด พี่คนนี้ก็จะต้องโปร่งใส เรียกว่าแยกให้ชัด เวลาเราจะเอาคัมภีร์การทํางานของบริษัทไหนอะไรยังไงมาก็แยกให้ชัดว่า core หรือจริงๆ เราจะใช้คําว่า why ของการที่มันมี culture นี้อยู่ คืออะไร เราอาจจะเก็บไว้ได้ แต่วิธีทําก็อาจจะต้องเปลี่ยนตามบริบท พี่อ้อพูดเรื่องการให้ feedback การเสนอความคิดเห็นในเมืองไทยมันมีความอ่อนน้อมถ่อมตน มันมีความพี่น้อง ก็ยังต้องมีเหมือนเดิม ยังต้อง visible ยังต้องกล้าให้ feedback ตรงๆ แต่อาจจะ อ่ะ ดึงไปคุยกันข้างนอก หลบๆ นิดนึง หรืออ่ะอาจจะแบบ ถ้าเป็นคนไทยก็อาจจะต้องแบบ ขอโทษพี่นะนิดนึง แต่ผมคิดว่าอะไรอย่างเงี้ยเนาะ ก็ยังต้องพูดได้ ยังต้องเห็นต่างได้ ยังต้อง feedback กันได้ แต่ก็มาเป็นบริบทให้มันเหมาะกับวัฒนธรรม ใช่
พูดถึงเรื่องเห็นต่างอันนี้ดีมาก พอเห็นต่างแล้วเนี่ยค่ะ ให้เค้ารู้ว่ามันมีประโยชน์ของความเห็นต่าง แล้วเวลาเห็นต่าง คุณ action ยังไงต่อ ถ้าคุณเป็นเสียงส่วนใหญ่ ทุกคนบอกว่า agree ทําแบบนี้ ใช่มั้ย คุณทํา แต่ถ้าเป็นเสียงน้อย แล้วสิ่งที่คุณเสนออ่ะ มันไม่ได้ถูกยอมรับจากคนส่วนใหญ่ คุณก็ต้อง commit ที่จะทำอยู่ดี เราเห็นด้วยหรือเราไม่เห็นด้วย ถ้าทุกคนตกลงกันแล้วว่าจะทํา หน้าที่เราก็ต้อง commit เราก็ต้อง support ถูกต้อง เราก็ต้องทําแม้ว่าเรา จะไม่ได้เห็นด้วยตั้งแต่แรก แต่คนส่วนใหญ่เห็นอย่างนั้น เราก็ต้องทํา ปัญหาก่อนหน้านี้ก็คือ ก็ไม่เห็นด้วย เพราะฉะนั้นอาการอืดจะเกิดขึ้น อาการที่จะไม่ contribute ก็จะเกิดขึ้น ถูกไหม ซึ่งมันเป็น mindset ที่ไม่ดี เพราะฉะนั้นยอมรับในการเห็นต่าง อันนี้สำคัญ ดีครับ
อาจจะอยากชวนพี่อ้อคุยนิดนึง เรื่อง generation หลายครั้ง คนเค้าก็จะมองเราเป็นคนรุ่นเก่าแล้วล่ะ ผมทํางานกับรุ่นน้อง เค้าก็จะเริ่มมองว่าเราแก่ละ ผมว่าส่วนนึงมันมีเรื่องเห็นต่าง คิดต่าง หรือมุมมองที่แตกต่าง พี่อ้อบริหารเรื่องนี้ใน Jitta ยังไงครับ
ในเชิงที่เป็นผู้ใหญ่ เป็นผู้บริหาร หรือเป็น leader ปัจจุบันของพี่อ้ออ่ะค่ะ คือพี่อ้อเอาประสบการณ์ส่วนนึงมาใช้มากๆ ก็คือเรื่องของการมองให้มัน 360 องศา มองได้ครบมิติ น้องอาจจะมีประสบการณ์ที่จะมองแบบนั้นไม่ได้ นึกออกมั้ยคะ เพราะว่าเค้าก็อาจจะไม่เคยทําในสิ่งนี้มา หรือไม่เคย ไม่เคยมีประสบการณ์ แต่พี่อ้อเชื่อว่าคนที่อยู่ใน เป็นผู้บริหารระดับสูงเนี่ย คือมองปุ๊บจะเห็นจะเห็นเลย เราเคยเจ็บมาแล้วหลายเรื่อง เพราะฉะนั้นเรา raise พูดให้มันเป็นประเด็น เพื่อให้เขาไปฉุกคิดได้ เขาไปคิดต่อได้ แล้วเขาก็จะ อ๋อ พี่ concern เรื่องนี้ มี concern เรื่องนี้ มีเรื่องนี้ที่น้องอาจจะต้องไปคิดเผื่อไว้ก็ได้นะ หรือทำแผนสำรอง หรือไปคิดในมุมมองตรงนี้ให้มันรอบคอบมากยิ่งขึ้น อันเนี้ยคือสิ่งที่พี่คิดว่า leader ณ ปัจจุบันควรจะต้องทํา ซึ่งส่วนใหญ่เวลานั่งประชุม พี่อ้อก็จะลดทอนลงเป็นลักษณะเหมือนคนไปเสริมมากกว่า คือตอนเนี้ยพูดน้อยลงมาก ซึ่งเป็นสิ่งที่พี่อ้อตั้งใจไว้ เป็น OKRs ของตัวเอง หมายความว่าเมื่อก่อน ตอนที่สามสี่ปีที่แล้ว เราจะต้องนั่งอยู่หัวโต๊ะ เราจะพูดเยอะมาก เป็นคนขอตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา ตอนนี้เราบอกว่า ไม่ เป้าหมายของความเป็น leadership ของพี่อ้อก็คือว่า พี่อ้อพูดน้อยลง แต่มีคนที่พูดแทนเราพูดมากขึ้น แล้วสุดท้ายค่ะ เราประคอง เรา support เราเป็น coach เพราะฉะนั้นเวลานั่งโต๊ะประชุมอะค่ะ พี่อ้อจะไม่นั่งหัวโต๊ะละ ไม่นั่งแล้วหัวโต๊ะ เราไม่ใช่ lead ตรงนั้น แต่น้องที่เป็น lead project ต้องนั่งหัวโต๊ะ พี่อ้อนั่งข้างๆ แล้วพูดน้อย raise เฉพาะประเด็นที่เรามองว่าเรา concern หรือเราอยากให้เขาคิด แล้วถ้าเกิดว่าสุดท้ายอะคะ เขาตัดสินใจไม่ได้ เราค่อยกระโดดลงไป lead แต่ก็ไม่ตัดสินใจนะคะ ถ้ามันไม่มีอะไรที่มันมีข้อสรุปได้ขนาดนั้น ส่วนใหญ่พี่อ้อก็จะถามคําถามให้เขาคิด เพื่อให้เขา lead ไปสู่การตัดสินใจได้ แล้วมันคือการตัดสินใจของเขาเอง เพราะฉะนั้นเนี้ยเขาจะ commit กับมันมากกว่าที่เราไปตัดสินใจให้กับเขา เป็นบทเรียนเนอะ สําหรับใครที่กําลังบริหารทีมอยู่แล้วเจอปัญหากับน้องๆ gen ใหม่ๆ นะครับ
สุดท้ายครับ next step ของ Jitta และของพี่อ้อคืออะไรครับ พี่อ้ออยากเห็น Jitta และ Jitta Wealth เติบโตเป็นยังไงบ้างครับ
ยังมีอะไรให้ทําอีกเยอะ ใน roadmap ที่เราวางไว้ เรามีละ อีกสิบปีข้างหน้า Jitta จะเป็นยังไง ไม่ได้ทําแค่เรื่องของการลงทุน แต่จะทําเรื่องของการที่เป็น financial well-being มากขึ้น แล้วหลังจากนั้นเนี่ยค่ะ พอ strategy มีแล้ว พี่อ้อต้องทําให้มันเกิดขึ้น ดูแลเรื่องของ sales, marketing, business operation อะไรต่างๆ ซึ่งพี่อ้อรู้สึกว่า ต่อให้ Jitta มีอายุสิบเอ็ดปีแล้ว ยังอยู่ในจุดที่เริ่มต้น เป็นเด็กประถม ที่ยังมีอะไรหลายๆ อย่างที่ยังทําอยู่ ถามว่าถ้าไม่ได้ทํา Jitta แล้ว ไปถึงจุดที่เราวางแผนไว้แล้ว อยากทําอะไรที่มันต่อเนื่องอยู่ดี เราจะทํายังไงให้เราใช้พลังของเทคโนโลยีในการขับเคลื่อนเรื่องอื่นๆ ด้วย อาจจะเกี่ยวกับเรื่องของการศึกษา เกี่ยวกับเรื่องของสุขภาพก็ได้ คือประเทศไทยอ่ะ ใช้เทคโนโลยีเก่ง แต่เป็น user อยู่ ยังไม่ได้เป็น builder สมัยก่อนตอนที่ทํา YouTube Thailand ที่พี่อ้อบอกมันยังไม่ launch YouTube Thailand คนไทยคือเป็น viewer คือเป็นคนนั่งดู content สูงที่สุดเป็น top 10 ของโลกนะคะ เราก็ภูมิใจแหละว่า YouTube ทํางานได้ดี แต่ว่าสิ่งที่พี่อ้อคิดก็คือ เราไม่ได้อยากได้คนที่นั่งดูอย่างเดียว นั่งเสพอย่างเดียว แต่เราอยากได้คนที่สร้าง content ด้วย ที่เป็น Youtuber เพราะฉะนั้นทํายังไงให้คนสามารถสร้าง content ได้ แล้วเขาได้ประโยชน์จากตรงนั้น เขาเห็นประโยชน์แล้วเขา take benefit จากตรงนั้นให้มากขึ้นได้ เพราะฉะนั้นมันก็เลยเกิด project ที่พี่อ้อพยายามทํา YouTube สุดท้ายมันมาเปรียบเทียบกับเทคโนโลยีตัวอื่นๆ ที่ไม่ใช่ YouTube นะ ที่คนไทยเป็นอยู่ในขณะนี้ แล้วคนรู้สึกว่า เฮ้ย เราเป็นผู้เสพ ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีอะไรก็แล้วแต่ อาจจะเป็น e-commerce อาจจะเป็น social media หรือเป็นอะไรก็แล้วแต่ ถ้าเกิดเรามีการพัฒนาหรือเรามีการที่จะให้โอกาสหรือใช้เทคโนโลยีได้มากขึ้นในบุคลากร หรือคนใหม่ๆ พี่อ้อเชื่อว่ามันจะเทิร์นจากคนนั่งดูมาเป็นคนสร้างเทคโนโลยีได้เหมือนกัน อยากจะไปทํา project ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเหล่านี้มากขึ้น
ดีครับ ผมก็เป็นกําลังใจ แล้วก็เดี๋ยวรอติดตามเนาะว่าเราจะเห็นพี่อ้อเอาเทคโนโลยี ไปสร้าง impact ในมุมไหนอีกบ้างนะครับ ก็วันนี้ขอบคุณพี่อ้อมากๆ ครับ ให้เกียรติมาพูดคุยกับรายการเรา ขอบคุณมากครับ/ขอบคุณค่ะ
พี่อ้อได้อยู่ Google ต้องบอกว่านานมาก สิบปี เป็นสิบปี ใช่ แล้วได้บทเรียนอะไรของการเป็นผู้นําในแบบ Google มาบ้างครับ เคยกินข้าวกับ Eric Schmidt ตอนมาเมืองไทย แล้วก็เล่าว่า YouTube Thailand เจอปัญหาอะไรที่ยัง launch ไม่ได้ แล้วเขาก็ยกมือถือขึ้นมาส่งอีเมล ผู้บริหาร Google ทุกคน ถ้าเขาคุยแล้วชัดเจนว่าเขาต้อง support อะไรเรา action เลยนะ
จากพี่อ้อ Google สู่พี่อ้อ Jitta เอาหลักคิดหลายหลายอย่างของGoogle มาปรับใช้ที่ Jitta อะไร work อะไรไม่ work ยังไงบ้างครับ ตอนแรกไม่ได้ปรับเลยค่ะ เอามาทั้งยวง สมัยก่อนพี่อ้อจะโหดมาก ก็คือห้ามถามอายุเลย ไม่มีพี่น้องนะคะ เพราะไม่อยากให้มีความรู้สึกว่า เกรงใจคนที่เป็นพี่ ฮาร์ดคอร์มาก ปรากฏว่า culture shock เพราะฉะนั้นใครที่จะไปอ่านหนังสือ How Google Works และก๊อปมาทั้งดุ้น ระวังนิดนึงก่อน อ่ะ เดี๋ยวเรามาฟังพี่อ้อต่อ
กลับมาพบกันอีกครั้งนะครับ กับรายการ Chief’s Table นะครับ วันนี้เราจะมาพูดคุยกับอดีตผู้บริหารคนแรกของ Google Thailand พี่อ้อ พรทิพย์ กองชุน นะครับ อดีตหัวหน้าฝ่ายการตลาดของ Google Thailand นะครับ ผู้อยู่เบื้องหลังการนําหลายหลาย product นะครับ ไม่ว่าจะเป็น Google Search Google Maps หรือว่า YouTube นะครับ มาให้พวกเราคนไทยได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย พี่อ้อมีประสบการณ์ทํางานอยู่ใน Google กว่าสิบปีนะครับ ได้นําความรู้แล้วก็ประสบการณ์ทํางานต่างๆ นะครับ ในแบบ Google มาร่วมปลุกปั้น Jitta เป็น Startup ด้าน WealthTech ซึ่งเป็น platform วิเคราะห์หุ้น เพื่อการลงทุนตามหลักการลงทุนแบบเน้นคุณค่า โดยสิ่งที่พี่อ้อคาดหวังคือพี่อ้ออยากทําให้ Jitta สามารถสร้าง impact ได้เหมือนที่ Google ทํา
วันนี้นะครับ เราจะมาร่วมถอดประสบการณ์ของพี่อ้อ จากการร่วมงานกับ Google นะครับ และการเอา culture ทํางานต่างๆ มาปรับ มาประยุกต์ใช้ ที่บริษัท Jitta ของตัวเองนะครับ ก็ต้องบอกว่าตอนนี้พวกเราคนไทย เราตื่นเต้นกับการนําวิธีทํางานของหลายๆ บริษัทต่างชาติไม่ว่าจะเป็น Google, Netflix, Amazon มาปรับใช้นะครับ การเอามาใช้มันมีข้อดีข้อเสียยังไง มีข้อควรระมัดระวังยังไง แล้วที่ Jitta ทําอะไรแล้ว work ทําอะไรแล้วไม่ work เดี๋ยววันนี้เรามาพูดคุยกับพี่อ้อกันครับ
พี่อ้อสวัสดีครับ สวัสดีค่ะ
ก็ก่อนอื่นนะครับ อยากให้พี่อ้อแนะนําตัว ก่อนจะมาทํา Google พี่อ้อไปทําอะไรมา เส้นทางชีวิตพี่อ้อเป็นยังไงบ้างครับ
โอเคค่ะ ก็ถ้าสมัยก่อนแนะนําตัวจะบอกว่าพี่อ้อ Google นามสกุล Google ทุกคนก็จะ คุณอ้อไหน อ๋อคุณอ้อ Google รู้จัก อยู่ Google ค่อนข้างนาน แต่จริงๆ แล้วพี่อ้อก็จะอยู่บริษัทเทคโนโลยีก่อนหน้านั้น ก็จะเป็น Microsoft แล้วหลังจากนั้นก็ไปเริ่มงานที่ Google ตอนที่ Google เริ่ม promote ในเมืองไทย ตอนนั้นมีตําแหน่งเดียว เขาเรียกว่า Country Consultant Google แบบไม่รู้ว่าคนจะใช้ product ยังไง หรือเราจะต้องทําอะไร อยากให้คนมาให้คําแนะนําเกี่ยวกับตลาด เกี่ยวกับผู้ใช้งานในประเทศนั้นๆ ใช่ แล้วก็ดูว่าเราจะพัฒนาอะไรเพิ่มเติมให้กับคนไทยบ้าง เพราะเราไม่รู้จักประเทศไทยเลย คือภายในเขาเรียกว่า scout ก็คือเราเดินออกไป แล้วเราไปดูซิว่าตลาดเป็นยังไง แล้วเราก็มาทํางานร่วมกับทีมงานของ Google อันนั้นก็จะเป็นตําแหน่งแรก หลังจากนั้นก็จะเปลี่ยนหลายตําแหน่งเลย ได้เรียนรู้อะไรเยอะแยะมากมายที่ Google ค่ะ ทำ Business Development ทํา New Business Development ด้วย คือมากกว่า new หมายถึงแบบ initiative ใหม่มากๆ ของ asia pacific south east asia ทำฝั่ง sales สุดท้ายก็กลับมาทํา marketing ก็คือการทําพัฒนา product ร่วมกับทีม product แล้วก็โปรโมทในประเทศไทย ก่อนออกจาก Google ก็ project ที่รู้สึกว่าทําแล้ว นี่่คือชีวิตทั้งชีวิตที่ทุ่มเทให้กับ Google แล้วทํา project นี้ออกมาค่ะ ก็คือ YouTube Thailand อ่า YouTube Thailand แล้วก็เป็นความภูมิใจถึงตอนนี้ เพราะ YouTube Thailand ก็เรียกว่าเป็น platform ที่สร้างประโยชน์มากๆ กับคนที่ทํา content หรือแม้กระทั่ง business หรือคนธรรมดา youtuber ต่างๆ ตอนเนี้ยค่ะคือ ecosystem เรียกว่าแข็งแกร่งมาก ก็เป็นความประทับใจ ความภูมิใจที่เราได้ทํา
พี่อ้อได้อยู่ Google ต้องบอกว่านานมากสิบปี เป็นสิบปีใช่ แล้วเวลาใครพูดถึงพี่อ้อ เขาก็จะอยากถามอยากรู้เกี่ยวกับ culture วิธีการทํางานต่างๆ ของ Google ช่วงแรกๆ เลยพี่อ้อเข้าไปที่ Google มันมีวัฒนธรรมอะไรที่เรารู้สึกประหลาดใจมากเป็นพิเศษเลยมั้ย
ค่ะ วันแรกก็ประหลาดใจเลย วันแรกประหลาดใจ วันแรกไปถึงปุ๊บ อ่ะ จะทําอะไรบ้างนะ เอา OKRs มา คือไม่มีใครมาบรีฟฉันหรอ ไม่มีใครมาบอกฉันหรอ ว่าฉันต้องทําอะไร เขาจะถามว่าเราจะทําอะไร หน้าที่เราต้องมาบอก Google ว่าเราจะทําอะไร เลยบอกขอเวลาฉันหน่อย งั้นเดี๋ยวฉันไป research ว่ามันจะต้องทําอะไร มีการวาง strategy ซึ่งตรงเนี้ยคือเป็นแบบที่ช็อกมาก เพราะว่าอยู่ Microsoft มาก่อน ถูกไหม ที่เล่าให้ฟัง อยู่ Microsoft Microsoft มันองค์กรใหญ่ละ ตอนนั้นนะ ถ้าเทียบกับ Google ที่ยังเด็กมาก เพราะฉะนั้น Microsoft วิธีการทํางานของเขาอ่ะ มันจะมีเฟรมเวิร์คค่อนข้างชัด แต่พอมาเจอ Google Google ถามว่า อ่ะ จะทําอะไรบ้าง คือทุกอย่างเป็นเรื่องใหม่ แล้วเขาต้องการคนที่ initiative จริงๆ คือหลังจากที่คุยกับ Manager เราก็เข้าไปศึกษา เข้าไปดูว่าตอนนี้ Google โฟกัส product อะไร อ่ะ เราก็มานั่งทําแผน
Google เขาชอบพูดคํานี้ set from zero หรือ built from zero ตอนพี่อ้อมาอยู่ marketing นี่คือ built from scratch อีกพักนึงคืออะไรรู้มั้ยคะ zero budget คือเป็นการแข่งที่พี่อ้อรู้สึกแบบ โอ้โห นี่คือแบบ ใครคิดไอเดียนี้มา หมายความว่า project ที่สําเร็จอ่ะค่ะ แคมเปญที่สําเร็จ แล้วใช้ budget น้อยมากๆ ROI สูงๆ เนี่ยเจ๋ง เค้าก็เลยบอกว่าเนี่ยถ้าคุณจะ คุณจะทํา project ให้แบบมีนัยยะสําคัญกับ Google คือแน่นอนคนใช้งาน ในขณะเดียวกันคุณใช้ budget น้อยมาก คุณทํายังไงก็ได้ให้ ROI มันสูง โอ้โห แข่งกันค่ะ หลายครั้งข้อจํากัดพวกนี้ มันก็ทําให้เราต้อง ใช่ มันจะคั้นเราว่า ถ้าเกิดมี resource แค่นี้ มีคนแค่นี้ แต่เป้าแบบนี้ คุณจะทํายังไง เพราะฉะนั้นเนี่ย สิ่งที่เราคิดอ่ะ ที่มันเป็น practice ที่ผ่านมา มันใช้ไม่ได้ล่ะ เราไม่สามารถทําแบบนั้นได้ละ คือสมองเราก็จะคิดแบบว่า อันนี้ทําไม่ได้ละ ถ้างั้นเรา ทํายังไงให้มันมากขึ้น ทําไงให้มันเป็นแบบสิบเท่า เขาก็เลยชอบอะไรที่มันมี constrain
คือมีข้อจํากัดเยอะๆ ให้เราคิดเอง drive ตัวเอง แล้วก็ต้อง built from zero ด้วย แล้วก็กันดารคือสินทรัพย์ ทํายังไงให้ push เราออกนอกกรอบ ผมว่ามันก็เป็นวิธีคิดแบบ Startup เนอะ จริงๆ ความเป็น Startup มันคือตอนเราเริ่มต้น เราไม่ได้มีเงินเยอะ เราไม่ได้อยาก burn เงินเยอะ เราก็ต้องหาท่ากองโจรต่างๆ ของเรา ทํายังไงก็ได้ให้เราเติบโตได้อย่างรวดเร็ว อ่ะ
ทีนี้อาจจะถอยกลับภาพกว้างๆ ครับ พี่อ้ออยู่ Google สิบปีเนาะ ผมว่าได้เห็นการเปลี่ยนผ่าน ได้เห็นคนหลาย generation ได้เห็นอะไรหลายๆอ ย่างเลยนะครับ core values ของบริษัท มีอะไรที่พี่อ้อชอบเป็นพิเศษ และคิดว่ามันเป็นบทเรียนที่ดีที่พวกเราควรจะรู้กันบ้างครับ
จริงๆ เยอะเลย Google เรียกว่า Google philosophy มันก็จะมีประมาณสิบเรื่องที่ Google บอกว่าฉันเชื่อมั่นในสิ่งนี้ แล้วเวลาที่เราทํางาน เวลาที่เราคิดจะพัฒนา product อะไร คิดว่าเราจะทําอะไรให้กับ user philosophy นี้ ก็จะเป็นตัวที่เป็นครอบตัวนําทาง ว่าเราต้องพัฒนาในแบบนี้นะ
ข้อแรกเนี่ย คําสั้นๆ จํากัดความของมัน ก็คือเขาบอกว่า don’t be evil แต่ Google ก็ไม่ได้ใช้คํานี้แล้ว Google บอกว่าเวลาที่เราจะทําเงินน่ะค่ะ เราทําสิ่งที่ถูกต้องได้ ยกตัวอย่างเช่น ที่ Google พูดถึงเรื่องนี้ก็คือ ตอนที่ Google มีหน้า search อะค่ะ หน้า search ของ Google เนี่ย มันขาวโพลน แล้วมันก็มีช่อง search ถูกมั้ยคะ แล้ว traffic มันเข้ามาเยอะ เพราะฉะนั้นหน้านั้นน่ะ สิ่งที่ทําได้อีกอันนึงอะค่ะ ที่จะสร้างเงิน ก็คือขาย banner ขายอันใหญ่หน้าแรกได้เลย ขายแพงก็น่าจะมีคนซื้อ ใช่ แต่ Google บอกไม่ เพราะหลักการของ Google คืออะไร คือหลักการต้องการให้คนมาค้นหา แล้วได้ผลลัพธ์ที่ต้องการอย่างรวดเร็ว นั่นคือ core ของมัน ไม่ใช่เข้ามาเพื่อมาดู banner ซึ่งถ้าเราจะทําเงิน เราทําได้แน่ๆ แต่ user มีประสบการณ์ที่ไม่ดี งั้นเราเลือกสร้างรายได้แบบอื่นดีกว่าไหม Google ก็เลยไปมองเรื่องของตัว ที่เวลาเรา search ด้วย keyword แล้วก็จะมีโฆษณาขึ้น แทนที่จะไปหาเงินแบบ banner ซึ่งมันก็จะเป็นก็จะเป็นโฆษณาที่ขึ้นมาเนอะ แต่มันก็จะเกี่ยวข้องกับคําที่เราหา เพราะฉะนั้นในมุมหนึ่งมันก็ ก็อาจจะตอบโจทย์ลูกค้าก็ได้ เขากําลังมองหาอันนี้อยู่ แล้วเราก็ได้โฆษณาไปด้วยแล้วก็ ใช่ ลูกค้าก็ได้ประโยชน์เขาเรียกว่ามันมีความเกี่ยวข้องกันถูกปะ Google อาจจะได้เงินน้อยลงก็ได้ค่ะ ถ้าเทียบกับการที่ไปขาย banner แต่ในระยะยาวแล้ว ด้วย user ด้วยคนที่ใช้งานก็ยังอยู่กับเราไปเรื่อยๆ เพราะว่าประสบการณ์ที่เค้าใช้มันยังดีอยู่ เพราะฉะนั้นเค้าก็อยู่กับเรายาวๆ Google ก็สามารถที่จะมีรายได้จากการทําโฆษณายาวๆ ได้เช่นกัน
ลองไปข้ออื่นๆ ครับเรามี philosophy ข้อไหนที่พี่อ้อชอบ แล้วได้เอามาประยุกต์ใช้ใน ในการทํางานที่ Google อีกบ้างครับ
ที่ใช้กับชีวิตอีกอันนึงก็คือ user first โฟกัสก่อน Google บอกว่าโฟกัส user ก่อน แล้วสิ่งอื่นๆ จะตามมา เวลาคุณถกเถียงกันว่าฟีเจอร์เนี้ยเราจะทําแบบไหน เราจะทํายังไงตัวที่จะเป็นกรอบให้คุณก็คือ แล้ว user จะได้อะไร Google มองเทคโนโลยีของตัวเองเป็นลักษณะเหมือน global technology คนทั้งโลกใช้ เขาอยาก scale ทําหนึ่งอันกดปุ่มให้ทั้งโลกใช้ อ่าใช่ แต่พอเอาเข้าจริงๆ แล้วอะคะ พอลงลึกในรายละเอียดอ่ะ มันไม่สามารถเป็น one size fits all ทุกคนได้ เช่น Google Search ค่ะ Google Search เนี่ย เป็นอะไรที่ทุกคนบอกว่ามันคือ universal แต่เอาเข้าจริงๆ ตอนที่ Google Search เกิดขึ้นที่เมืองไทยอะคะ Google Search แย่มากนะคะ แย่ถึงขั้นที่เรียกว่าห่วยเลยอ่ะ เคยเล่นมุกนี้ไหม มุกที่ search Google อ่ะ “อยากได้คนที่รักเราจริง” แล้วผลคืออะไรรู้ไหม “ไม่พบผลการค้นหา” แล้วเขาก็จะแคปเจอร์แล้วเขาก็มาแซวกันว่า เนี่ย ขนาดจะหาคนที่รักเราจริงอ่ะ Google ยังหาให้ไม่เจอเลย คือจริงๆ เกิดขึ้นเพราะอะไรรู้ไหมคะ เพราะ Google ไม่รู้ว่าคํายาวๆ ที่คุณกําลังหาอ่ะ มันหมายความว่ายังไง เพราะว่า Google ไม่ได้ตัดคําสําหรับคนที่อาจจะไม่คุ้นเคยกับเทคโนโลยี คือต้องบอกว่า search สมัยก่อน เรา search หาคําว่าอะไร Google ก็จะไปหาเว็บที่มันมีคํานั้น เป๊ะๆ อยู่ในนั้นเลย แต่พอเป็นภาษาอังกฤษ ทุกคํามันก็จะมีเว้นวรรคชัดเจน แต่เป็นภาษาไทยปึ๊บ “ตามหาคนที่รักเราจริง” เขาก็มองหาอันนี้เลย คือเขาก็จะหาเว็บที่ต้องมีคําเนี้ยยาวๆ ต่อกันเป๊ะๆ ไม่เจอ ก็เลยกลายเป็นไม่มีผล ผลการค้นหาไม่พบนะคะ ถามว่าตอนนั้นน่ะมีคนเริ่มใช้ Google Search อ่ะค่ะ เจ้าอื่นๆ ก็มีนะ เจ้าอื่นก็มี Microsoft ก็มี search สมัยนั้น แต่คนมาใช้ Google นะคะ ไม่ได้หมายความว่า Google ดีนะ แค่ดีกว่า เพราะฉะนั้น สิ่งที่พี่อ้อต้องทําก็คือต้อง feedback คือส่งเรื่องขึ้นไปว่า เฮ้ย คุณต้องมาดูแลเรื่องพวกนี้แล้ว เพราะว่าถ้าเกิดว่าการที่คุณเห็นตัวเลขว่า Google มีคนใช้เยอะ ใช้ Google Search เยอะที่หนึ่งของประเทศไทยอ่ะไม่ได้หมายความว่าเราดีที่สุด แค่เราดีกว่าคู่แข่งเรา แต่ถ้าเราอยากดีที่สุด แล้ว Google Search อ่ะ มันจะเป็นตัวที่ขยายไปสู่ product อื่นๆ เช่น Google Adwords, AdSense หรือ search ตัวอื่นๆ เพราะฉะนั้นคุณต้องแก้ไขตรงนี้ก่อน เพราะฉะนั้น พอส่งเรื่องขึ้นไป Google ก็ส่ง engineer เข้ามาช่วยดู แล้วเราก็มีส่วนในการพัฒนาตรงนี้ด้วย ซึ่งตรงเนี้ยพอย้อนกลับมาคําถาม เอ้ย user first นี่เลย
user first user first เนาะ เราดีกว่าคู่แข่งไม่ได้แปลว่าเราดีพอสําหรับ user นะครับ อ่ะ มีข้อไหนอีกมั้ยครับ
ที่พี่อ้อชอบ great just isn’t good enough เยี่ยมยอดแล้ว ทําดีแล้วมันก็ยังดีไม่พอ ดีไม่พอ ต้องดีกว่าเดิม มันก็คือเรื่องของการเรียนรู้ และพัฒนา Google จะเปลี่ยนแปลงตลอด คือบางทีพี่อ้อรู้สึกว่ากระบวนการนี้มันก็โอเคอยู่แล้วอ่ะ ไม่ มันจะต้องดีกว่านี้อีก แล้วคุณอยากจะดีขึ้นยังไง ไม่รู้ แต่เรารู้ว่ามันจะดีกว่านี้ได้ แล้วเค้าก็เชื่อว่าทุกงานน่ะค่ะ สามารถทําให้ดีกว่าเดิม แม้ว่างานของคนนั้นจะเป็นงานที่อาจจะต้องเป็นรูทีนอ่ะ เป็นแบบ business user คือทํายังไงมันก็ตีลังกามากไม่ได้กว่านี้ละ แบบ 1 2 3 4 5 อย่างเงี้ย แต่จริงๆ เขาบอกว่างานทุกงานมันทําได้ มัน optimize ได้ มันทําให้ดีกว่าเดิมได้ ยกตัวอย่างเช่นคุณทํางานที่เกี่ยวกับเรื่องของกระบวนการ คุณอาจจะบอกว่า เนี่ย คุณตอบลูกค้าภายในหกชั่วโมงได้ ลูกค้า happy ลูกค้าพอใจ คุณทําเร็วกว่านี้ได้ไหม หรือรองรับลูกค้าจํานวนมากกว่าที่เป็นได้ไหม เขาคิดว่าทุกอย่างมันไม่พอ เวลาเปลี่ยน บริบทมันเปลี่ยนแปลง สิ่งที่เราทําอยู่มันก็ต้องปรับเปลี่ยนแล้วก็ดีกว่าเดิมดีกว่าเดิม ที่พี่อ้อบอก user อย่างเงี้ยค่ะ เราบอกว่าเราทํา Google Search ละเราไปปรับปรุงละ user บอกว่า happy สมมติบริบทเปลี่ยนแปลงไป ตอนนี้ user อาจจะอยาก search แล้วเห็นอะไรที่มันเรียลไทม์กว่าเดิม หรือ AI ช่วยได้ว่า เฮ้ย ยังไม่ต้อง search เลย ยังรู้เลยว่าเราอยากได้คําตอบเรื่องอะไร มันไม่มีอะไรนิ่งเลย มันมีการเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราต้องทําไปคู่กับการเปลี่ยนแปลงก็คือ ทําให้ดีกว่าเดิม ทําให้ดีกว่าเดิม
great แล้วก็ยังดีไม่พอ เพราะฉะนั้น ก็ต้องกลับมาเรื่องนี้เลยครับ Google เป็นหนึ่งในองค์กรที่คนรู้จักกันดีในฐานะที่ push พนักงานเก่งมาก เราตั้งเป้าแบบ moon shot จะไปดวงจันทร์กันตลอดเวลาเนอะ อ่า หลายคนจะได้ยินคําว่า 10X จะเติบโตห้าเปอร์เซ็นต์ สิบเปอร์เซ็นต์ไม่เอา ขอสิบเท่า อยากให้พี่อ้อเล่าหน่อยว่า วิธีคิดแนวคิดมันมันเป็นยังไง พี่อ้อเอามาใช้กับ project ยังไงบ้าง แล้วในมุมพนักงาน คนทํางาน ตกลงมันฮึกเหิมจาก 10X หรือว่าจะ ห่อเหี่ยวจาก 10X อยากจะจะให้พี่อ้อเล่าเรื่องนี้ให้ฟังยาวๆ เลยครับ
ใช้เยอะมาก ใช้ทุกวันเลยค่ะ มันคือเรื่องของ motivation คือทำให้เรารู้สึกว่า เรากําลังทําเป้าที่มันใหญ่ ให้คนรู้สึกว่าเอ้ย สิ่งที่เรากําลังทํา มันยิ่งใหญ่นะ มัน big impact แล้วมันเป้าที่ใหญ่ โอเคมันอาจจะยาก มันยากเลยล่ะ แต่ถ้าเราทําได้ เราจะภูมิใจในตัวเรามากๆ แล้วสุดท้ายคือสิ่งที่เรากําลังทําอยู่อ่ะค่ะ เรากําลังทําให้ใครได้ประโยชน์ ไม่ได้มาแบบ อ๋อ โอเค เดี๋ยว quarter นี้ เราขอสิบเปอร์เซ็นต์ก็พอ ซึ่งอันเนี้ยเรา เราจะพูดกันอยู่ตลอดเวลา แม้ว่ามันอาจจะมีอุปสรรค เราต้องหาวิธีที่เราจะไปให้ได้ในเป้าหมายที่เราตั้งไว้ มันจะมีการ motivate แล้วทําให้คนรู้สึกว่า โอเค ฉันต้องทําให้ได้ ในมุมที่พี่อ้อเล่าเนาะ คือการตั้งเป้าแบบ moon shot จะไปดวงจันทร์ หรือ 10X เนี่ย ตั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดการรู้สึกว่าเรากําลังเป็นส่วนหนึ่งของอะไรที่มันยิ่งใหญ่มากๆ
ผมว่าคําถามที่ผู้ฟังทุกคนถามในตอนนี้ครับ มันไม่ห่อเหี่ยวมั่งหรอ เช่น หัวหน้าตั้งมา 10X ไม่มีทางได้เลยอ่ะ เป็นไปได้ไหม อ่ะ
คือมันต้องสร้างกันมาเรื่อยๆ หล่อหลอมกันมาเรื่อยๆ องค์กร Startup อย่าง Jitta มันไม่ยาก เพราะว่าเริ่มจากศูนย์ มาถึงปุ๊บ เราจะ 10X ทุกคนก็จะเข้าใจ culture ก็จะได้ ทุกคนก็จะไป 10X ถูกไหมค่ะ เพราะฉะนั้นสภาพแวดล้อมทุกคนอยากจะ 10X ทุกคนอยากจะสําเร็จ อันเนี้ยมันจะไม่ยากอยู่แล้ว แต่องค์กรค่ะ เราเคยโตสิบเปอร์เซ็นต์ ยี่สิบเปอร์เซ็นต์มา อยู่ดีๆ พี่คนนี้มา moon shot เราขอสิบเท่า นึกออกไหม เคยทําได้ห้าร้อยล้าน ตอนนี้มาขอห้าพันล้าน เดี๋ยวน่ะ คือทุกคนก็จะแบบ เอ๊ะ ไปยังไง คือมันมีการเปลี่ยนแปลงในนั้นอะคะ แล้วก็ mindset มันจะเริ่มเปลี่ยน ถูกไหมค่ะ ซึ่งจริงๆ แล้วมันไม่ได้ตั้งแต่ตอนแรก เพราะคุณไม่ได้อยู่ในสภาพแวดล้อมแบบนั้น มันต้องค่อยๆ หล่อหลอมกันไป อาจจะไม่ moon shot อ่ะ อาจจะ หลังคาบ้านก่อนแล้วกัน ตอนนี้เราทําแค่นี้ใช่ไหม อ่ะ เราขออยู่หลังคาบ้าน เราขอออกไปนอกโลกก่อนอย่างเงี้ยค่ะ ก็ค่อยๆ ไป แต่ทีเนี้ย สิ่งที่ตอนไปอ่ะ แน่นอนเมื่อกี้ที่ถาม เห้ย ถ้ามันต้อง motivate กันตลอดเวลา หรือเป้ายากอย่างเงี้ย มันก็จะมีช่วงหนึ่งไหมที่รู้สึกเหนื่อยจังเลย ท้อจังเลย หรือแม้กระทั่งถ้าเราทําไม่ได้ ถ้ามันล้มเหลวคนก็จะรู้สึกว่า ก็มันทําไม่ได้ แล้วจะตั้งอีกทําไม เพราะเดี๋ยวก็ทำไม่ได้อีก เริ่มต้นค่ะ คุณไม่ต้อง 10X ตั้งแต่แรกหรอก ค่อยๆ ทําให้เขาเห็นว่า อย่างน้อยการที่เขาตั้งอะไรที่มัน challenge มันท้าทายศักยภาพอ่ะ มันจะทําให้เขาถูกกระตุ้นคิด คิดออกมาได้มากขึ้นอ่ะ ยกตัวอย่างวิธีคิด คือทําให้เขาเห็นภาพว่า ตัวเขาเองทําได้มากกว่าที่คิดก่อน คือต้าเคยให้พนักงานทํา แล้วต้าให้คะแนนไว้ที่ห้า พนักงานทุกคนของต้าทําได้ห้า เราเปลี่ยนแนว บอกว่าพี่รู้ว่าทุกคนเก่งมาก แต่พี่ไม่เอาล่ะ พี่ไม่อยากได้ห้าละ พี่อยากให้ทุกคนคิดในมุมที่ว่า เราน่าจะทําได้เกินห้า ขอสิบได้ไหม ขอเท่าตัวก่อน ยังไม่ต้อง 10X ขนาดที่ว่า เฮ้ย จากห้าไปเป็นห้าสิบอย่างเงี้ยค่ะ ถ้าเราไม่ทําเหมือนที่เราเคยได้เต็มห้า เราทําอีกแบบหนึ่ง หรือเราทํามากขึ้นดูสิว่าเราจะไปถึงสิบได้รึเปล่า ซึ่งถ้าเรา motivate เราพยายามให้เป้ามันยาก โดยส่วนใหญ่แล้วคนน่ะ ก็จะเริ่มไม่ได้ทําแบบเดิม เพราะฉะนั้นเขาจะทําอะไรที่มันอาจจะไม่เหมือนเดิม หรือมากกว่าเดิม ซึ่งสุดท้ายแล้ว ถ้าเขาทําไม่ได้ถึงสิบอะคะ เช่น เขาทําได้แปด คือแบบปรบมือเลย มันก็เกินห้ามาตั้งเยอะแล้ว ใช่ แล้วเราก็กลับไปถามเขาบอกว่า น้องไม่ได้เต็มนะ แต่น้องได้แปด ระหว่างห้ากับแปด น้องภูมิใจตัวไหนมากกว่ากัน ซึ่งคนส่วนใหญ่ถ้าถอยกลับมาค่ะ ยังไงก็ต้องภูมิใจในสิ่งที่เรารู้สึกว่า เราปลดศักยภาพของตัวเองแล้วทําได้แปด มันทําได้เกินที่คิดด้วยซ้ำเอาไว้ตลอดทั้งชีวิตคิดว่าได้ห้า งั้นลอง project ที่ยากกว่านี้อีกลองอะไรที่มันมากกว่านี้อีกได้มั้ยเพราะฉะนั้นการที่เราให้ mindset อย่างเงี้ย คนก็จะคิดคิดแทนที่จะกังวลว่า เฮ้ย มันเหนื่อยจังเลย แต่เขารู้สึกมันให้รางวัลกับชีวิตเขา เขาเกิด achivement มันก็จะค่อยๆ ขึ้นไปผมว่ามีหลายประเด็นเลยที่น่าสนใจเนอะ Google เขาอยากไปดวงจันทร์เขาตั้ง 10X จริงเนาะ แบบนี้เหมาะกับ Startup เพราะพวกเราเพิ่งเริ่มอ่ะตัวเลขน้อยๆ คูณสิบเนี่ย มันก็ยังไม่เยอะมากแต่บริษัทที่ใหญ่แล้วจะมาคูณสิบ อยู่ดีๆ เราจะจับทุกคนคูณสิบมันยากเกินไป พนักงานก็อาจจะยังไม่ได้มีmindset ของการที่จะต้องถูกกระตุ้น ถูก motivate ด้วยวิธีนี้พี่อ้อก็แนะนําว่าปีนหลังคาบ้านก่อนปีนหลังคาบ้านได้ค่อยขึ้นฟ้าขึ้นฟ้าเสร็จค่อยออกอวกาศ แล้วเดี๋ยว ค่อยไปดวงจันทร์เนาะ เอา smal step ให้เขามี small winเรื่อยๆ แล้วสิ่งที่พี่อ้อพูดแล้วผมชอบมากๆเลยคือ วิธีคุยคือเราต้องช่วยเค้าทําให้เห็นภาพเนาะ ว่าเรากําลังจะทําให้เค้าทําได้มากกว่าที่เค้าคิด เรากําลังปลดปล่อยศักยภาพในตัวเค้าแล้วทันทีที่เราเห็นภาพตรงนี้ชัดพี่อ้อก็บอกว่าสุดท้ายแล้วคนมันจะเปลี่ยนวิธีคิด เพราะถ้ามันทําแบบเดิมมันไม่มีทางได้ 10Xมันต้องเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ แล้วพอคนเริ่มเปลี่ยนวิธีคิด เริ่มได้เห็นตัวเอง ออกจากคอมฟอร์ทโซนแล้วก็ เฮ้ยฉันทําได้นี่หว่า หัวหน้าเชื่อว่าฉันทําได้ แล้วฉันก็ทําได้โดยที่จริงๆ ฉันไม่เคยคิดว่าฉันทําได้ แล้วเขาก็จะเริ่มฮึกเหิมแล้วเขาก็จะเริ่มหาความท้าทายใหม่ๆ เรียกว่เริ่มเสพติดความท้าทาย อาจจะเริ่มอยากจะ 10X กับเรา
เดี๋ยวก่อนที่เราจะเริ่มมาคุยเรื่อง Jitta เนาะตลอดสิบที่ Google ครับ พี่อ้อมีโอกาสทํางานกับผู้บริหารระดับสูงของ Google หลายๆ ท่านเลย Sundar Pichai, Eric Schmidt ได้เรียนรู้อะไรจากคนพวกนี้บ้างไหมครับ เขามีลักษณะอะไรที่มันโดดเด่นที่ ที่พวกเราควรเอาเยี่ยงอย่างบ้างครับ
คือเขาเป็น Leader ที่ไม่ได้สั่งอะไรเลย เขาจะฟังเราก่อน เพื่อที่เขาจะไปคิดว่า นี่คือสิ่งที่ Google วางแผนไว้ มันไปในแนวทางเดียวกันได้ไหม หรือเราจะทําไงให้ Google Thailand ที่คุณกําลังจะทํา หรือว่าสิ่งที่เป็นภาพใหญ่ของ Google มันสามารถที่จะไปใน direction เดียวกันได้ งั้นเขาจะฟังเราก่อนเสมอ อันเนี้ยจะ open มากๆ แล้วก็พยายามให้เราคิด คือในหัวเค้าอ่ะ พี่อ้อเชื่อว่าเค้า เค้าคิดเสร็จแล้ว ถูกต้อง Sundar Pichai อย่างเงี้ย Google Chrome เค้ารู้แล้วล่ะ เค้าคุยกับ Sergey Brin คุยกับ Larry Page เสร็จแล้ว แต่แทนที่เค้าจะบอกว่า นี่คือ 1 2 3 4 5 คุณไปทํานะ คุณมีหน้าที่ทํา ไม่ เค้าไม่เคยพูดอย่างนี้กันเลย
ผู้นําที่ดีในแบบของ Google ก็คือต้องเป็น coach เนอะ แล้วเขาก็จะชอบ 1 on 1 หมายความว่าเขาจะชอบมาถาม ชอบมา follow up เขาอาจจะไม่ได้ monitor ใกล้ชิด เพราะ Google ก็จะบอกอยู่แล้วว่าไม่ micro manage เพราะ micro manage มันมีกรอบเยอะ แล้วพนักงานจะคิดอะไรที่มัน initiative หรือว่าคิดอะไรที่มัน นอกเหนือจากที่มันเป็นยาก เพราะฉะนั้นมันไม่เกิด creative เพราะฉะนั้นเขาก็จะมา 1 on 1 แล้วเขาก็จะ แค่ถามว่ามันไปตามที่เราวางแผนกันไว้ไหม ถ้าเป็นไปดีเยี่ยม ทําอะไรได้ดีขึ้นได้ไหม จะให้เขา support อะไร ผู้บริหาร Google ทุกคนจะค่อนข้าง open แล้วก็รับฟัง feedback ใช่ไหม แต่ถ้าเขาคุยแล้ว ชัดเจนว่าเขาต้อง support อะไรเรา แล้วเขารู้ว่าเขาสามารถ support ได้เลย หรือ action ได้เลย เขาทําเลยนะคะ เพราะพี่อ้อเคยกินข้าวกับ Eric Schmidt ตอนมาเมืองไทย แล้วก็เล่าว่า YouTube Thailand เจอปัญหาอะไรที่ยัง launch ไม่ได้ แล้วเขาก็บอก โอเค เดี๋ยวเขาคุยกับฝ่ายกฎหมาย ยกมือถือขึ้นมาส่งอีเมล แล้วก็บอกว่า โอเค ทางนู้นก็ส่งมาแล้วว่าเดี๋ยวจะดูให้ พอเรามาเป็นคนทํางาน เราก็จะรู้สึกว่า โห นี่คือ leader หรือคนที่นําทางเรา ที่เราต้องการจริงๆ leader ในแบบของ Google เนาะ พี่อ้อบอกว่าเป็น good coach เป็น coach ที่ดี มา 1 on 1 กับเราบ่อยๆ เริ่มตั้งแต่เจอกัน ถามเราว่าอยากทําอะไร คิดอะไรอยู่ open mind มากๆ ถึงแม้เราจะคิดจบในหัวเราแล้ว ก็ไม่ต้องไปบอกเค้าเนาะ ก็ถามเค้าว่าว่าอยากทําอะไร เปิดโอกาสให้ แล้วก็พยายามหา alignment เนาะ เรารู้อยู่แล้วเราอยากพาบริษัทไปทางไหน น้องคิดมาแบบเนี้ยเราจะช่วยปรับยังไงให้มันไปในทิศทางเดียวกัน แล้วพอเราตกลงเข้าใจอะไรร่วมกันแล้วเนาะ ก็ยังต้อง coach ต้อง 1 on 1 เพื่อติดตามผล และอันนี้พี่อ้อพูดแล้วผมชอบที่สุดเลยคือ ติดตามแล้ว เราก็ต้องช่วย support ต้อง take action ด้วย ลูกน้องติดอะไรยกมือถือขึ้นมาเคลียร์ ให้มันจบตรงนั้นเลย เขาถึงจะได้วิ่งแทนเราได้
อย่างที่ต้าสรุปไปเมื่อกี้ แต่โดยรวม Google ทําได้ดีมากๆ ก็คือเรื่องของ direction leadership กับ direction เราจะไปแบบไหน เรามี mission ยังไง เป้าของเราคืออะไร OKRs ปีนี้ของเราคืออะไร ทําได้ดีมาก พี่คิดในใจเค้าไม่เบื่อเหรอที่เค้าพูด เขาจะพูดตลอดเวลา อ่ะ Google มี mission อะไร ทุกครั้งที่มีประชุมบริษัทคนเยอะๆ คือพูดจนแบบว่า โหเนี่ย กรีดเลือดมาคือมันชัดมาก ในฐานะที่เราเป็น leader เราอยู่หัวเรือ เรากําลังชี้ว่าเราไปทิศทางไหน คือเราชี้อยู่ได้อ่ะ ชี้ให้มันชัดอ่ะ ไม่ใช่วันนี้เราชี้ทิศใต้ อีกวันชี้ทิศเหนือ แต่เราชี้เลยว่านี่คือ direction ที่เราจะไป สมมติว่ามันมีเรื่องอะไรเข้ามา เรื่องของตลาด เรื่องปัจจัยอะไรที่เราควบคุมไม่ได้เข้ามา สุดท้ายเราก็บอกว่าเอ้ย สิ่งเหล่านั้นน่ะ มันมากระทบยังไง แต่เรายังไปอยู่นะ ไม่ใช่แบบพอมีอะไรเปลี่ยนแปลงแล้วเราเป็น leader ที่ เอ้ย เราก็ไม่รู้เหมือนกัน เดี๋ยวเอียงซ้ายไปก่อนแล้วกัน เอียงขวาไปก่อนแล้วกัน สุดท้ายคนก็ในก็จะไม่รู้ว่า direction จริงๆ เป็นยังไง ซึ่งจริงๆ ตรงเนี้ย Google ไม่ว่าจะเป็น Eric Schmidt เป็น Larry Page หรือ Sundar Pichai คือทุกคนทําตรงนี้ชัดเจน
โอเค พวกเราได้ story สนุกๆ แล้วก็บทเรียน leadership ที่น่าสนใจมากๆ จากพี่อ้อนะครับ
ตอนนี้พาพี่อ้อเปลี่ยนนามสกุลแล้วครับ จากพี่อ้อ Google เนาะ สู่พี่อ้อ Jitta ลาออกจาก Google มาเริ่มต้นก่อตั้ง Startup Jitta ซึ่งบทบาทอันนึงที่พี่อ้อมาทําก็ ในฐานะผู้บริหาร ก็ต้องพยายามปั้นทีม สร้าง culture การทํางาน ซึ่งแน่นอนที่สุด พี่อ้อเกริ่นมาตลอดทางแล้วว่าเอาหลักคิดหลายๆ อย่าง วิธีคิดหลายๆ อย่างของ Google มาปรับใช้ที่ Jitta นะครับ อยากให้พี่อ้อลองเล่าหน่อยครับ เอาอะไรมาใช้บ้างอะไรเวิร์ค อะไรไม่เวิร์คยังไงบ้างครับ
ตอนแรกไม่ได้ปรับเลยค่ะ เอามาทั้งยวงเลย ไม่ไม่ปรับเลย มันดีค่ะ ถ้ามันดีอยู่แล้ว มันพิสูจน์แล้ว นี่บริษัทยักษ์ใหญ่ของโลกเลยนะคะ ทุกคนอยากทํางานที่ Google เลย เพราะว่า culture ของ Google คิดมาก เอามาทําเลยค่ะ ก็เอามาทั้งหมดทั้งยวงเลย ปรากฏว่า culture shock มันไม่ได้ fits all ขนาดนั้น เขาช็อกกับเรื่องอะไรที่สุดครับ culture คนไทยเรา ถ้อยทีถ้อยอาศัย ถ้าจะว่าอะไรเราก็ sandwich นิดนึง ชมก่อน ตบหัวลูกหลัง ไม่ต้องใช้คําแรงขนาดนั้นก็ได้ ถ้ามันรุนแรงจริงๆ ไปคุยนอกรอบได้ไหม เพราะว่าในที่ประชุมมีคนเป็นสิบเลย พูดตรงต่อหน้านี่คือแบบหน้าช้ามากเลยนะ อะไรอย่างเงี้ย
หรือการที่เราบอกไม่เห็นด้วย ทุกคนก็ไม่กล้าแย้งกลับมา ไม่กล้าเถียง ก็พี่อ้อไม่เห็นด้วย เราจะพูดทําไม แต่จริงๆ พี่อ้อคาดหวัง การไม่เห็นด้วยเพื่อที่ เราเสนอแนวคิดของเราไป เราคาดหวังอะไร เราคาดหวังว่าคนอื่นก็จะพูดในสิ่งที่เป็นแนวคิดของเขาเข้ามา เพราะฉะนั้นเนี้ย สิ่งที่เจอก็คือส่งไป ทุกคนก็ตัดก่อนเลย เพราะว่าไม่มีประโยชน์ที่จะพูด นี่คือ Co Founder เขาพูดแบบนี้ ก็ไปแบบนี้สิ ทั้งๆ ที่ไม่เห็นด้วย ซึ่งวิถีแบบคือวิถีที่ที่เราเป็นคนไทยที่ถ้อยทีถ้อยอาศัย อยู่ร่วมกันแบบครอบครัว ปรับเยอะเหมือนกันตรงนี้
พี่อ้อปรับตรงไหนยังไงบ้างครับ แล้วทุกวันนี้อะไรของ Google ที่ยังเหลือร่องรอยอยู่ใน Jitta บ้างครับ
อันดับแรกปรับจากพี่อ้อก่อน แกะดํา คนที่เป็นแกะดําคือคุณ คือ mindset หรือวิธีการของเราอะคะ เรามาแยกแยะก่อนว่าสิ่งนี้คือ core แล้วยังอยากให้อยู่ เช่นเรื่องของ open feedback เรื่องของความโปร่งใส ในระยะยาวแล้วพี่อ้อยังมองว่าดี มองว่าดีมากๆ กับองค์กร เพราะฉะนั้นอันนี้ยังคงเก็บไว้ และพยายามกระตุ้นให้ทุกคนมี feedback ซึ่งกันและกัน ตามหลักการ ตามข้อเท็จจริง ตามที่ควรจะเป็น เพราะฉะนั้น คุณกล้าพูด กล้าเสนอแนะ ในสิ่งที่คุณคิด แต่ถ้าเป็นบางเรื่องที่พี่อ้อรู้สึกว่า เอ้ย มันเกี่ยวกับเรื่องของ culture แล้วทํายังไงมันอาจจะไม่ตรงกับที่ Google เป็นก็ได้ อย่างเงี้ยค่ะ พี่อ้ออาจจะต้องปรับอ่ะ ยกตัวอย่างเช่น อีกเรื่องหนึ่งที่คนไทยเป็น แล้ว Google ไม่เป็นเลย ก็คือเรื่องของ visibility ความชัดเจน เห็นว่าใครทําอะไรยังไง คือถ้าผิดมีปัญหา ยกมือ เรื่องนี้มีปัญหาครับ เราต้องมาช่วยกันคิดเรื่องนี้ หรือกล้าที่จะพูดออกมาว่าเขาทํา หรือเขาไม่ทําอะไร หรือเกิดปัญหาอะไร เพราะอีกแผนกหนึ่งทําตรงนี้ ก็เลยมากระทบกับเขา ตรงนี้ไม่มีเลย เพราะฉะนั้น ดึงมันขึ้นมา แต่ในโทนคนไทย วิธีการพูดอาจจะพูดในเชิง คือเวลาเราทํางานด้วยกัน เราจะชอบเรียกกันพี่ๆ น้องๆ สมัยก่อนพี่อ้อจะโหดมากก็คือห้ามถามอายุเลย แล้วไม่ให้เรียกพี่เรียกน้องเลย เพราะไม่อยากให้มีความรู้สึกว่าเราต้องเกรงใจคนที่เป็นพี่ หรือคนเป็นน้องเนี่ย เพราะวัยวุฒิไม่ถึง แต่จริงๆ คนเป็นน้องอาจจะมีไอเดียที่ดีกว่า คือฮาร์ดคอร์มาก เพราะฉะนั้นมันก็จะกลับมาเจอกันตรงที่ว่า ยังเรียกพี่เรียกน้องได้ แต่ในมุมมองของการทํางานน่ะค่ะไม่มีพี่น้องนะคะ ตัว core หลักของเรามันก็ยังเหมือนเดิม เราตัดสินคนที่งาน แล้วเราก็โปร่งใส เรามีอะไรเราก็ feedback เราก็คุย เราก็เสนอความเห็นได้เต็มที่ ถูกต้อง ถ้าพี่คนนี้ทําไม่ถูกต้อง หรือพี่คนนี้ทําแล้วผิดพลาด พี่คนนี้ก็จะต้องโปร่งใส เรียกว่าแยกให้ชัด เวลาเราจะเอาคัมภีร์การทํางานของบริษัทไหนอะไรยังไงมาก็แยกให้ชัดว่า core หรือจริงๆ เราจะใช้คําว่า why ของการที่มันมี culture นี้อยู่ คืออะไร เราอาจจะเก็บไว้ได้ แต่วิธีทําก็อาจจะต้องเปลี่ยนตามบริบท พี่อ้อพูดเรื่องการให้ feedback การเสนอความคิดเห็นในเมืองไทยมันมีความอ่อนน้อมถ่อมตน มันมีความพี่น้อง ก็ยังต้องมีเหมือนเดิม ยังต้อง visible ยังต้องกล้าให้ feedback ตรงๆ แต่อาจจะ อ่ะ ดึงไปคุยกันข้างนอก หลบๆ นิดนึง หรืออ่ะอาจจะแบบ ถ้าเป็นคนไทยก็อาจจะต้องแบบ ขอโทษพี่นะนิดนึง แต่ผมคิดว่าอะไรอย่างเงี้ยเนาะ ก็ยังต้องพูดได้ ยังต้องเห็นต่างได้ ยังต้อง feedback กันได้ แต่ก็มาเป็นบริบทให้มันเหมาะกับวัฒนธรรม ใช่
พูดถึงเรื่องเห็นต่างอันนี้ดีมาก พอเห็นต่างแล้วเนี่ยค่ะ ให้เค้ารู้ว่ามันมีประโยชน์ของความเห็นต่าง แล้วเวลาเห็นต่าง คุณ action ยังไงต่อ ถ้าคุณเป็นเสียงส่วนใหญ่ ทุกคนบอกว่า agree ทําแบบนี้ ใช่มั้ย คุณทํา แต่ถ้าเป็นเสียงน้อย แล้วสิ่งที่คุณเสนออ่ะ มันไม่ได้ถูกยอมรับจากคนส่วนใหญ่ คุณก็ต้อง commit ที่จะทำอยู่ดี เราเห็นด้วยหรือเราไม่เห็นด้วย ถ้าทุกคนตกลงกันแล้วว่าจะทํา หน้าที่เราก็ต้อง commit เราก็ต้อง support ถูกต้อง เราก็ต้องทําแม้ว่าเรา จะไม่ได้เห็นด้วยตั้งแต่แรก แต่คนส่วนใหญ่เห็นอย่างนั้น เราก็ต้องทํา ปัญหาก่อนหน้านี้ก็คือ ก็ไม่เห็นด้วย เพราะฉะนั้นอาการอืดจะเกิดขึ้น อาการที่จะไม่ contribute ก็จะเกิดขึ้น ถูกไหม ซึ่งมันเป็น mindset ที่ไม่ดี เพราะฉะนั้นยอมรับในการเห็นต่าง อันนี้สำคัญ ดีครับ
อาจจะอยากชวนพี่อ้อคุยนิดนึง เรื่อง generation หลายครั้ง คนเค้าก็จะมองเราเป็นคนรุ่นเก่าแล้วล่ะ ผมทํางานกับรุ่นน้อง เค้าก็จะเริ่มมองว่าเราแก่ละ ผมว่าส่วนนึงมันมีเรื่องเห็นต่าง คิดต่าง หรือมุมมองที่แตกต่าง พี่อ้อบริหารเรื่องนี้ใน Jitta ยังไงครับ
ในเชิงที่เป็นผู้ใหญ่ เป็นผู้บริหาร หรือเป็น leader ปัจจุบันของพี่อ้ออ่ะค่ะ คือพี่อ้อเอาประสบการณ์ส่วนนึงมาใช้มากๆ ก็คือเรื่องของการมองให้มัน 360 องศา มองได้ครบมิติ น้องอาจจะมีประสบการณ์ที่จะมองแบบนั้นไม่ได้ นึกออกมั้ยคะ เพราะว่าเค้าก็อาจจะไม่เคยทําในสิ่งนี้มา หรือไม่เคย ไม่เคยมีประสบการณ์ แต่พี่อ้อเชื่อว่าคนที่อยู่ใน เป็นผู้บริหารระดับสูงเนี่ย คือมองปุ๊บจะเห็นจะเห็นเลย เราเคยเจ็บมาแล้วหลายเรื่อง เพราะฉะนั้นเรา raise พูดให้มันเป็นประเด็น เพื่อให้เขาไปฉุกคิดได้ เขาไปคิดต่อได้ แล้วเขาก็จะ อ๋อ พี่ concern เรื่องนี้ มี concern เรื่องนี้ มีเรื่องนี้ที่น้องอาจจะต้องไปคิดเผื่อไว้ก็ได้นะ หรือทำแผนสำรอง หรือไปคิดในมุมมองตรงนี้ให้มันรอบคอบมากยิ่งขึ้น อันเนี้ยคือสิ่งที่พี่คิดว่า leader ณ ปัจจุบันควรจะต้องทํา ซึ่งส่วนใหญ่เวลานั่งประชุม พี่อ้อก็จะลดทอนลงเป็นลักษณะเหมือนคนไปเสริมมากกว่า คือตอนเนี้ยพูดน้อยลงมาก ซึ่งเป็นสิ่งที่พี่อ้อตั้งใจไว้ เป็น OKRs ของตัวเอง หมายความว่าเมื่อก่อน ตอนที่สามสี่ปีที่แล้ว เราจะต้องนั่งอยู่หัวโต๊ะ เราจะพูดเยอะมาก เป็นคนขอตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา ตอนนี้เราบอกว่า ไม่ เป้าหมายของความเป็น leadership ของพี่อ้อก็คือว่า พี่อ้อพูดน้อยลง แต่มีคนที่พูดแทนเราพูดมากขึ้น แล้วสุดท้ายค่ะ เราประคอง เรา support เราเป็น coach เพราะฉะนั้นเวลานั่งโต๊ะประชุมอะค่ะ พี่อ้อจะไม่นั่งหัวโต๊ะละ ไม่นั่งแล้วหัวโต๊ะ เราไม่ใช่ lead ตรงนั้น แต่น้องที่เป็น lead project ต้องนั่งหัวโต๊ะ พี่อ้อนั่งข้างๆ แล้วพูดน้อย raise เฉพาะประเด็นที่เรามองว่าเรา concern หรือเราอยากให้เขาคิด แล้วถ้าเกิดว่าสุดท้ายอะคะ เขาตัดสินใจไม่ได้ เราค่อยกระโดดลงไป lead แต่ก็ไม่ตัดสินใจนะคะ ถ้ามันไม่มีอะไรที่มันมีข้อสรุปได้ขนาดนั้น ส่วนใหญ่พี่อ้อก็จะถามคําถามให้เขาคิด เพื่อให้เขา lead ไปสู่การตัดสินใจได้ แล้วมันคือการตัดสินใจของเขาเอง เพราะฉะนั้นเนี้ยเขาจะ commit กับมันมากกว่าที่เราไปตัดสินใจให้กับเขา เป็นบทเรียนเนอะ สําหรับใครที่กําลังบริหารทีมอยู่แล้วเจอปัญหากับน้องๆ gen ใหม่ๆ นะครับ
สุดท้ายครับ next step ของ Jitta และของพี่อ้อคืออะไรครับ พี่อ้ออยากเห็น Jitta และ Jitta Wealth เติบโตเป็นยังไงบ้างครับ
ยังมีอะไรให้ทําอีกเยอะ ใน roadmap ที่เราวางไว้ เรามีละ อีกสิบปีข้างหน้า Jitta จะเป็นยังไง ไม่ได้ทําแค่เรื่องของการลงทุน แต่จะทําเรื่องของการที่เป็น financial well-being มากขึ้น แล้วหลังจากนั้นเนี่ยค่ะ พอ strategy มีแล้ว พี่อ้อต้องทําให้มันเกิดขึ้น ดูแลเรื่องของ sales, marketing, business operation อะไรต่างๆ ซึ่งพี่อ้อรู้สึกว่า ต่อให้ Jitta มีอายุสิบเอ็ดปีแล้ว ยังอยู่ในจุดที่เริ่มต้น เป็นเด็กประถม ที่ยังมีอะไรหลายๆ อย่างที่ยังทําอยู่ ถามว่าถ้าไม่ได้ทํา Jitta แล้ว ไปถึงจุดที่เราวางแผนไว้แล้ว อยากทําอะไรที่มันต่อเนื่องอยู่ดี เราจะทํายังไงให้เราใช้พลังของเทคโนโลยีในการขับเคลื่อนเรื่องอื่นๆ ด้วย อาจจะเกี่ยวกับเรื่องของการศึกษา เกี่ยวกับเรื่องของสุขภาพก็ได้ คือประเทศไทยอ่ะ ใช้เทคโนโลยีเก่ง แต่เป็น user อยู่ ยังไม่ได้เป็น builder สมัยก่อนตอนที่ทํา YouTube Thailand ที่พี่อ้อบอกมันยังไม่ launch YouTube Thailand คนไทยคือเป็น viewer คือเป็นคนนั่งดู content สูงที่สุดเป็น top 10 ของโลกนะคะ เราก็ภูมิใจแหละว่า YouTube ทํางานได้ดี แต่ว่าสิ่งที่พี่อ้อคิดก็คือ เราไม่ได้อยากได้คนที่นั่งดูอย่างเดียว นั่งเสพอย่างเดียว แต่เราอยากได้คนที่สร้าง content ด้วย ที่เป็น Youtuber เพราะฉะนั้นทํายังไงให้คนสามารถสร้าง content ได้ แล้วเขาได้ประโยชน์จากตรงนั้น เขาเห็นประโยชน์แล้วเขา take benefit จากตรงนั้นให้มากขึ้นได้ เพราะฉะนั้นมันก็เลยเกิด project ที่พี่อ้อพยายามทํา YouTube สุดท้ายมันมาเปรียบเทียบกับเทคโนโลยีตัวอื่นๆ ที่ไม่ใช่ YouTube นะ ที่คนไทยเป็นอยู่ในขณะนี้ แล้วคนรู้สึกว่า เฮ้ย เราเป็นผู้เสพ ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีอะไรก็แล้วแต่ อาจจะเป็น e-commerce อาจจะเป็น social media หรือเป็นอะไรก็แล้วแต่ ถ้าเกิดเรามีการพัฒนาหรือเรามีการที่จะให้โอกาสหรือใช้เทคโนโลยีได้มากขึ้นในบุคลากร หรือคนใหม่ๆ พี่อ้อเชื่อว่ามันจะเทิร์นจากคนนั่งดูมาเป็นคนสร้างเทคโนโลยีได้เหมือนกัน อยากจะไปทํา project ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเหล่านี้มากขึ้น
ดีครับ ผมก็เป็นกําลังใจ แล้วก็เดี๋ยวรอติดตามเนาะว่าเราจะเห็นพี่อ้อเอาเทคโนโลยี ไปสร้าง impact ในมุมไหนอีกบ้างนะครับ ก็วันนี้ขอบคุณพี่อ้อมากๆ ครับ ให้เกียรติมาพูดคุยกับรายการเรา ขอบคุณมากครับ/ขอบคุณค่ะ